งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา/ ปีงบประมาณ 2553 วันที่ 19 และ 20 กรกฎาคม 2554 คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา/ ปีงบประมาณ 2553 วันที่ 19 และ 20 กรกฎาคม 2554 คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา/ ปีงบประมาณ 2553 วันที่ 19 และ 20 กรกฎาคม 2554
คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

2 คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน คณะทรัพยากรธรรมชาติ
1. ศาสตราจารย์ ดร.ภาวิณี ชินะโชติ ประธานกรรมการ 2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์อำไพรัตน์ สุทธินันท์ รองประธานกรรมการ 3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุรศักดิ์ คชภักดี ผู้ทรงคุณวุฒิ 4. รองศาสตราจารย์ ดร.ดวงพร คันธโชติ กรรมการ 5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์เจิดจรรย์ ศิริวงศ์ กรรมการ 6. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิษฐิดา เอลซ์ กรรมการ 7. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยะรัตน์ บุญแสวง กรรมการ 8. นางประภัสสร สุขพฤกษ์ กรรมการ 9. นางนันทพร นภาพงศ์สุริยา กรรมการ 10. นางวาสนา วงศ์ชนะ เลขานุการ

3 พระราชปณิธานของ สมเด็จพระบรมราชชนก
”ขอให้ถือประโยชน์ส่วนตัวเป็นที่สอง ประโยชน์ของเพื่อนมนุษย์เป็นกิจที่หนึ่ง ลาภ ทรัพย์ และเกียรติยศจะตกแก่ท่านเอง ถ้าท่านทรงธรรมะแห่งอาชีพไว้ให้บริสุทธิ์” ปณิธานการบริหารคณะ ยกระดับการเกษตรไทยด้วยทฤษฏีเศรษฐกิจพอเพียง และผลิตบัณฑิตเกษตรนักบริหารจัดการ

4 วัตถุประสงค์การตั้งคณะ
ผลิตบัณฑิตด้านการเกษตรและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่มีความรู้ตามมาตรฐานสากล ตระหนักถึงการใช้ทรัพยากรอย่างมี ดุลยภาพและยั่งยืน ใฝ่การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง สามารถสร้างงานประกอบอาชีพ และมีคุณธรรม จริยธรรม มนุษยสัมพันธ์ ตลอดทั้งกระจายโอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา 1 2 วิจัยด้านการเกษตรและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่มีความหลากหลาย มีคุณภาพและเป็นที่ยอมรับในระดับนานาชาติ เน้นการแก้ปัญหาสำคัญของภูมิภาคในระบบการผลิต การพัฒนา และการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการ 3 สร้างองค์ความรู้ใหม่ด้านการเกษตรและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติที่มีประสิทธิภาพ สามารถถ่ายทอดให้บริการสู่ชุมชนได้ และประยุกต์ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นอันนำไปสู่การเป็นที่พึ่งของชุมชน

5 วิสัยทัศน์ (VISION) คณะทรัพยากรธรรมชาติจะเป็นคณะชั้นนำด้านการวิจัยเพื่อนำไปสู่คุณภาพ ในการผลิตบัณฑิตด้านการเกษตรและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและเป็นที่พึ่งของชุมชนในภูมิภาค

6 พันธกิจ (MISSION) 1. สร้างองค์ความรู้ด้านการเกษตรและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ที่ผสมผสาน ระหว่างวิทยาการสมัยใหม่กับภูมิปัญญาท้องถิ่นสู่การเรียนการสอน และสร้างบัณฑิตที่มีคุณภาพสามารถทำงานที่ส่งผลต่อการพัฒนาอย่างมีส่วนร่วมในท้องถิ่น ประเทศ และภูมิภาคได้ 2. ดำเนินการวิจัยในหัวข้อที่เป็นปัญหาสำคัญของภาคใต้เกี่ยวกับระบบการผลิตทางการเกษตรและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อให้ได้มาซึ่งการเพิ่มผลผลิตอย่างยั่งยืนและมีคุณภาพโดยประหยัดต้นทุน/ทรัพยากร 3. ดำเนินการเผยแพร่ความรู้ ให้บริการวิชาการ สนับสนุนการแก้ปัญหา ด้านการเกษตรและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติแก่ชุมชนในภูมิภาคอย่างต่อเนื่อง

7 องค์ความรู้ที่ได้รับการยอมรับจากการวิจัย
พืชกรรมปาล์มน้ำมัน พันธุ์ การจัดการสวนปาล์ม ยางพารา การเพิ่มผลผลิต ระบบการกรีด กล้ายางพารา โรคยางพารา ไม้ผล ลองกอง มังคุด โรค แมลงศัตรูพืชสำคัญในภาคใต้ และการป้องกันกำจัด พืชผักใหม่ ๆ เทคโนโลยีชีวภาพการเกษตรโดยเฉพาะการขยายพันธุ์และการปรับปรุงพันธุ์ เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ แพะ การผลิตหมูสมุนไพร สุขภาพและโภชนศาสตร์สัตว์น้ำ นิเวศวิทยาและการจัดการสิ่งแวดล้อมชายฝั่ง พัฒนาชุมชนเกษตร

8 ผู้บริหารคณะ รศ.ดร.วัลลภ สันติประชา คณบดี รศ.ดร.ชาญชัย ธนาวุฒิ
รศ.ดร.วัลลภ สันติประชา คณบดี ผศ.ดร.ชุติมา ตันติกิตติ รองคณบดีฝ่ายบัณฑิตศึกษา และวิเทศสัมพันธ์ รศ.ดร.ชาญชัย ธนาวุฒิ รองคณบดีฝ่ายวิชาการ ผศ.วรวิทย์ วณิชาภิชาติ รองคณบดีฝ่ายบริหาร ผศ.ดร.ประวิตร โสภโณดร ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา ผศ.ทวีศักดิ์ นิยมบัณฑิต รองคณบดีฝ่ายพัฒนา

9 หัวหน้าภาควิชา รศ.ดร.วัชรินทร์ ซุ้นสุวรรณ ผศ.อิบรอเฮม ยีดำ
รศ.ดร.วัชรินทร์ ซุ้นสุวรรณ หัวหน้าภาควิชาพืชศาสตร์ (1 มี.ค ปัจจุบัน) ผศ.อิบรอเฮม ยีดำ หัวหน้าภาควิชาพืชศาสตร์ (20 ส.ค. 48 – 1 มี.ค. 54) รศ.ดร.วัลลภ สันติประชา รักษาการหัวหน้าภาควิชาสัตวศาสตร์ (1 เม.ย. 54 – ปัจจุบัน) รศ.ดร.ศิริชัย ศรีพงศ์พันธุ์ หัวหน้าภาควิชาสัตวศาสตร์ (1 ก.ย. 52 – 30 มี.ค. 54)

10 หัวหน้าภาควิชาพัฒนาการเกษตร หัวหน้าภาควิชาพัฒนาการเกษตร
รศ.ดร.สมยศ ทุ่งหว้า หัวหน้าภาควิชาพัฒนาการเกษตร (1 ก.พ. 54 – ปัจจุบัน) รศ.ดร.บัญชา สมบูรณ์สุข หัวหน้าภาควิชาพัฒนาการเกษตร (1 ส.ค. 52 – 1 ก.พ. 54) ผศ.ดร.สุพัตรา เดวิสัน หัวหน้าภาควิชาวาริชศาสตร์ (1 ธ.ค. 51 – ปัจจุบัน) ผศ.เชาวน์ ยงเฉลิมชัย หัวหน้าภาควิชาธรณีศาสตร์ (1 ต.ค. 53 – ปัจจุบัน) รศ.ดร.อรัญ งามผ่องใส หัวหน้าภาควิชาการจัดการศัตรูพืช (1 ก.ย. 52 – ปัจจุบัน)

11 หลักสูตรและจำนวนนักศึกษาปริญญาตรี
สาขาวิชา จำนวนนักศึกษา ทั้งหมด จำนวนบัณฑิต ปีการศึกษา 2553 เกษตรศาสตร์ 230 พืชศาสตร์ 220 47 พัฒนาการเกษตร 160 23 การจัดการศัตรูพืช 107 9 ธรณีศาสตร์ 120 25 สัตวศาสตร์ 229 40 วาริชศาสตร์ 241 รวม 1,307 191

12 หลักสูตรและจำนวนนักศึกษาปริญญาโท
สาขาวิชา จำนวนนักศึกษา ทั้งหมด จำนวนบัณฑิต ปีการศึกษา 2553 พืชศาสตร์ 36 10 สัตวศาสตร์ 13 1 พัฒนาการเกษตรและทรัพยากรชายฝั่ง 25 4 พัฒนาการเกษตร ฯ(ภาคสมทบ) 34 5 กีฏวิทยา 17 โรคพืชวิทยา 6 การจัดการทรัพยากรดิน 20 วาริชศาสตร์ 29 7 รวม 180 33

13 หลักสูตรและนักศึกษาปริญญาเอก
สาขาวิชา จำนวนนักศึกษาทั้งหมด จำนวนบัณฑิต ปีการศึกษา 2553 พืชศาสตร์ 16 วาริชศาสตร์ 8 1 การจัดการทรัพยากรเกษตรเขตร้อน 21 รวม 45

14 วุฒิการศึกษาของอาจารย์ประจำแยกตามภาควิชา
สัดส่วนวุฒิ ป.เอก ร้อยละ อ.ใหม่ วุฒิ ป.เอกทั้งหมด คณะ/ภาควิชา ปริญญาตรี ปริญญาโท ปริญญาเอก จำนวน ร้อยละ พืชศาสตร์ 1 5.88 3 17.65 13 76.47 วาริชศาสตร์ 4 26.67 11 73.33 ธรณีศาสตร์ 9 100.00 การจัดการศัตรูพืช 2 21.05 7.5 78.95 สัตวศาสตร์ 7 53.85 6 46.15 พัฒนาการเกษตร 11.76 88.24 คณะทรัพยากรธรรมชาติ 1.39 17 23.61 54 75.00

15 การดำรงตำแหน่งทางวิชาการ
อาจารย์ทั้งคณะ มีตำแหน่งทางวิชาการ ร้อยละ 45.14 ลดลงจากการเกษียณอายุราชการ อ.ใหม่ต้องใช้เวลาสร้างผลงาน คณะ/ภาควิชา อาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ศาสตราจารย์ รวมที่ดำรงตำแหน่ง รศ. ขึ้นไป จำนวน ร้อยละ ภาควิชาพืชศาสตร์ 5 29.41 4 23.53 8 47.06 ภาควิชาวาริชศาสตร์ 53.33 26.67 2 13.33 1 6.67 3 20.00 ภาควิชาธรณีศาสตร์ 1.5 16.67 22.00 5.5 61.11 ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช 3.5 36.84 10.53 52.63 ภาควิชาสัตวศาสตร์ 23.08 30.77 6 46.15 ภาควิชาพัฒนาการเกษตร 2.5 11.76 58.82 คณะทรัพยากรธรรมชาติ 23.5 32.64 16 22.22 31.5 43.75 1.39 32.5 45.14

16 ผลการดำเนินงาน ปีการศึกษา 2553

17 ผลการประเมินรายองค์ประกอบ
กลุ่มสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คะแนน ปี 2550 ปี 2551 ปี 2552 ปี 2553 ผลการประเมิน 1. ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดำเนินการ 4.33 5.00 4.54 ดีมาก 2. การผลิตบัณฑิต 3.83 3.71 3.93 4.51 3. กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา 4.25 4.00 ดี 4. การวิจัย 3.76 3.88 3.70 5. การบริการวิชาการแก่สังคม 4.83 6. การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 7. การบริหารและการจัดการ 4.80 4.85 4.73 8. การเงินและงบประมาณ 3.00 3.34 3.67 9. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ 4.67 4.35 ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก 9 องค์ประกอบ 4.12 4.29 4.66 10. ความสัมพันธ์ของมหาวิทยาลัยกับสังคม และชุมชนภาคใต้* 11. วิเทศสัมพันธ์* ค่าเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก 11 องค์ประกอบ 4.11 4.39 ผลการประเมินคณะทรัพยากรธรรมชาติ รับรองมาตรฐาน

18 ความพึงพอใจของนายจ้าง/ผู้ใช้บัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รุ่นปีการศึกษา ของกองแผนงาน สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (มีนาคม กผ. 119/2554) ความรู้ความสามารถ คะแนน (เต็ม 10) ระดับความพึงพอใจ วิชาการ/วิชาชีพ 7.54 พึงพอใจมาก ความรู้ความสามารถทั่วไป 7.62 บุคลิกภาพ 7.96 คุณธรรมจริยธรรมและ จรรยาบรรณในวิชาชีพ 8.16 พึงพอใจมากที่สุด

19 ผลการดำเนินงานองค์ประกอบที่ 1
ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดำเนินการ ผลการประเมินองค์ประกอบเท่ากับ 4.54 กระบวนการพัฒนาแผน 8ข้อ ผลการบริหารสถาบันให้เกิดอัตลักษณ์ 4 ข้อ (ด้านคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษา) ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ์ ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อน 4 ข้อ เป็นเอกลักษณ์ของสถาบัน ( การเป็นมหาวิทยาลัยวิจัย )

20 ผลการดำเนินงานองค์ประกอบที่ 2 ผลการประเมินองค์ประกอบเท่ากับ 4.51
การผลิตบัณฑิต ผลการประเมินองค์ประกอบเท่ากับ 4.51 ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร 5 ข้อ อาจารย์ประจำที่มีคุณวุฒิปริญญาเอก ร้อยละ 75.00 อาจารย์ประจำที่ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ร้อยละ 45.14 ระบบการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรสายสนับสนุน ข้อ ห้องสมุด อุปกรณ์การศึกษา และสภาพแวดล้อมการเรียนรู้ 5 ข้อ ระบบและกลไกการจัดการเรียนการสอน ข้อ ระบบและกลไกการพัฒนาสัมฤทธิผลการเรียนตามคุณลักษณะของบัณฑิต 6 ข้อ ระดับความสำเร็จของการเสริมสร้างคุณธรรมจริยธรรมที่จัดให้กับนักศึกษา 3 ข้อ บัณฑิตปริญญาตรีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระภายใน 1 ปี ร้อยละ 66.17 คุณภาพของบัณฑิตปริญญาตรี โท และเอก ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ คะแนนประเมินบัณฑิต 3.91 ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ร้อยละ 29.55 ผลงานของผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาเอกที่ได้รับการตีพิมพ์ ร้อยละ 75.00 การพัฒนาคณาจารย์ ค่าดัชนีคุณภาพ 5.83

21 กิจกรรมประชุมผู้ปกครอง และ โครงการเตรียมความพร้อม
สำหรับนักศึกษาที่เข้าศึกษาใน คณะทรัพยากรธรรมชาติ ประจำปีการศึกษา 2554

22 ฝึกปฏิบัติจริง สถานีวิจัยเทพา เน้นการฝึกงานด้านยางพารา ปาล์มน้ำมัน และไม้ผล สถานีวิจัยท่าเชียด เน้นการฝึกงานด้าน พืชไร่นา และเศรษฐกิจพอเพียง สถานีวิจัยคลองหอยโข่ง เน้นการฝึกงานด้าน ปาล์มน้ำมัน ปศุสัตว์ และระบบการทำฟาร์ม

23 กิจกรรมเสริมสร้างประสบการณ์ทางวิชาชีพ และการเตรียมพร้อมในการประกอบอาชีพ การฝึกปฏิบัติงานจริง

24 พัฒนาความรู้และทักษะการบริหารจัดการ
ความรู้เรื่อง GAP กับ มกอช. บริษัท ซีพี และสอดแทรกในวิชาต่าง ๆ ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ ภาษาอังกฤษ และความเป็นนานาชาติ จัดทำ curriculum mapping เพื่อให้มีทักษะอย่างต่อเนื่องในทุกภาคการศึกษา

25 ทัศนศึกษา ดูงาน ณ ประเทศมาเลเซีย
เพื่อเปิดโลกทัศน์ กระตุ้นการเรียนรู้และ ในบรรยากาศนานาชาติ ทั้งอาจารย์ นักศึกษา และบุคลากร

26 ทัศนศึกษา ดูงาน ณ ประเทศมาเลเซีย
เพื่อเป็นการเปิดโลกทัศน์ กระตุ้นการเรียนรู้และ บรรยากาศนานาชาติ ทั้งอาจารย์ นักศึกษา และบุคลากร การจัดการสวนยาง สวนปาล์มน้ำมันที่ประเทศมาเลเซีย

27 นักศึกษาฝึกงานในหน่วยงานราชการ และเอกชน และวิชาสหกิจศึกษา
นักศึกษาฝึกงานในหน่วยงานราชการ และเอกชน และวิชาสหกิจศึกษา การตรวจสารตกค้างของสัตว์น้ำ การเก็บข้อมูลพารามิเตอร์ของน้ำ การศึกษาและการเก็บตัวอย่างสัตว์หน้าดิน

28 แปลงสาธิต: พันธุ์พืชผัก ไม้ดอกไม้ประดับ พืชไร่ และพืชพลังงาน
การพัฒนานักศึกษาของงานเกษตรภาคใต้ ให้มีระบบงาน บทบาทและหน้าที่ของงานแต่ละฝ่าย และจัดให้มีผู้ประสานฝ่ายนักศึกษา และผู้จัดการประจำวัน แปลงสาธิต: พันธุ์พืชผัก ไม้ดอกไม้ประดับ พืชไร่ และพืชพลังงาน 28 28

29 เผยแพร่ความรู้และวิชาการร่วมกับร้านค้า
การขยายพันธุ์โดยการต่อยอด ต้นชวนชม การปลูกองุ่น การแยกหน่อหางช้าง "พญากล้วยไม้" การขยายพันธุ์โดยวิธีทาบกิ่ง มะยงชิดและขนุนแดงปราจีน

30 จัดนิทรรศการ สาธิต ประกวด จำหน่ายสินค้า แสดงศิลปวัฒนธรรม
จัดนิทรรศการ สาธิต ประกวด จำหน่ายสินค้า แสดงศิลปวัฒนธรรม ประกวดวาดภาพ และประมูลภาพวาด การแสดงของนักเรียน นักศึกษา นิทรรศการภายในและภายนอก 30 30

31 ไกด์เกษตรพาน้องเที่ยวชมงาน
ร้านอาหารและร้านค้าของชมรมนักศึกษา ฝึกประสบการณ์การทำงานและบริหารจัดการ 31 31

32 ฝ่ายรักษาความปลอดภัย จราจรและยานพาหนะ ฝ่ายสวัสดิการและพยาบาล
กรรมการ ฝ่ายต่าง ๆ ฝ่ายรักษาความปลอดภัย จราจรและยานพาหนะ 32 32 ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ฝ่ายสวัสดิการและพยาบาล

33 พัฒนาทักษะการใช้คอมพิวเตอร์
อบรมและทดสอบ Microsoft Office ( Word, PowerPoint และ Excel) โปรแกรมวิเคราะห์สถิติ, บังคับการทำ power point วิชาสัมมนา มีเครือข่ายไร้สาย ในพื้นที่ศึกษานอกเวลา บริเวณคณะ การใช้สื่อ Online เป็นช่องทางในการติดต่อและสร้างความสัมพันธ์ของ นักศึกษา บุคลากร และศิษย์เก่า

34 ผลการดำเนินงานองค์ประกอบที่ 3 ผลการประเมินองค์ประกอบเท่ากับ 4.00
กิจกรรมการพัฒนานักศึกษา ผลการประเมินองค์ประกอบเท่ากับ 4.00 ระบบและกลไกการให้คำปรึกษาและบริการด้านข้อมูลข่าวสาร 5 ข้อ ระบบและกลไกการส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา 6 ข้อ

35 กิจกรรมวิชาการ - เตรียมความพร้อมสำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 กิจกรรมปฐมนิเทศสำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 - สอนเสริมวิชาภาษาอังกฤษ ชีววิทยาสำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 - ทัศนศึกษาประเทศมาเลเซีย - อบรมเตรียมความพร้อมนักศึกษาชั้นปีที่ 4 - จัด Future Career เทคนิคการเตรียมตัวเข้าสู่งาน สายอาชีพ และเสวนา บัณฑิตจบใหม่สู่ เส้นทางธุรกิจนานาชาติ โดยบริษัทเจริญโภคภัณฑ์อาหาร จำกัด (มหาชน) กิจกรรมสร้างเสริมคุณธรรมจริยธรรม พัฒนาจิตด้วยการบรรยายธรรม "จิตสำนึกสาธารณะ ด้วย พุทธวจน" โดยพระวิทยากร พระอาจารย์คึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล และคณะ กิจกรรมที่เสริมสร้างศิลปะและวัฒนธรรม ส่งเสริมสุขภาพ ชุมชน และจิตสาธารณะ - ไหว้ครูประจำปีการศึกษา 2553 - ประเพณีสงกรานต์ประจำปี 2554 งานเกษตรภาคใต้ ครั้งที่ 18 ประเพณีสี่จอบ ค่ายผู้นำ และค่ายอาสา บริจาคโลหิต ช่วยเหลือน้ำท่วมหาดใหญ่และภาคใต้ ช่วยเหลือภัยสึนามิญี่ปุ่น การบรรยายและกิจกรรมการแยกขยะ

36 พิธีไหว้ครูประจำปีการศึกษา 2553
* ร่วมบันทึกความดีถวายแด่ในห​ลวง * การจัดนิทรรศการเรียนรู้เรื่องครูของแผ่นดิน คือ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ และเรียนรู้ครูของเกษตรไทยผู้ริเริ่มก่อตั้งการเกษตรของไทย และเรียนรู้ถึงครูปัจจุบันของคณะฯผู้ที่ก่อตั้งและบุกเบิกคณะฯของเรา เชิญพานไหว้ครู ประกวดพานไหว้ครู รางวัลชนะเลิศอันดับ 1 ผูกข้อมือรับขวัญ

37 ผลการดำเนินงานองค์ประกอบที่ 4 ผลการประเมินองค์ประกอบเท่ากับ 5.00
การวิจัย ผลการประเมินองค์ประกอบเท่ากับ 5.00 ระบบและกลไกการพัฒนางานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 7 ข้อ ระบบและกลไกการจัดการความรู้จากงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ 6 ข้อ เงินสนับสนุนงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ต่อจำนวนอาจารย์ประจำและนักวิจัยประจำ ,440 บาท/ คน งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับการตีพิมพ์หรือเผยแพร่ ร้อยละ 35.10 งานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่นำไปใช้ประโยชน์ ร้อยละ 36.99 ผลงานวิชาการที่ได้รับการรับรองคุณภาพ ร้อยละ 21.92

38 การวิจัย กำหนดทิศทางการวิจัย เพื่อพัฒนาและแก้ปัญหาการเกษตรกร
คณาจารย์มีศักยภาพและเป็นที่ยอมรับในการเสนอโครงการวิจัยเพื่อขอรับทุนวิจัย และเป็นที่ยอมรับของชุมชน มีกองทุนวิจัยเพื่อสนับสนุนให้บุคลากรและบัณฑิตศึกษาทำงานวิจัย มีสถานีวิจัยเพื่อรองรับการดำเนินงานวิจัยของคณาจารย์ และนักศึกษาบัณฑิตศึกษา หลักสูตรบัณฑิตศึกษาระดับปริญญาโทและปริญญาเอก ที่เชื่อมโยงให้บัณฑิตศึกษาร่วมงานวิจัยกับอาจารย์ได้ทุกสาขา โดยมีทุนสนับสนุนวิจัยทำวิทยานิพนธ์ ภายใต้โครงการมหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ การประเมินผลงานวิจัยเชิงวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ปี 2552 โดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) ผลประเมินระดับคุณภาพดี คือ ภาควิชาพืชศาสตร์ ภาควิชาวาริชศาสตร์ ผลการประเมินระดับปานกลาง คือ ภาควิชาธรณีศาสตร์ ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช ภาควิชาสัตวศาสตร์

39 ส้มโอ มังคุด เงาะ ทุเรียน
สถานีวิจัยเทพา ยางพารา ลองกองแซมมะพร้าว ส้มโอ มังคุด เงาะ ทุเรียน ปาล์มน้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำมันมะพร้าว ลูกประคบ

40 สถานีวิจัยท่าเชียด * เกษตรผสมผสาน อ้อย สัปปะรด ข้าวเฉี้ยง เลี้ยงโคกินหญ้าแทนการตัดหญ้า และนำมูลโคมาผลิตปุ๋ยคอก * ใช้พื้นที่เสื่อมโทรม พื้นที่เศษเสี้ยว แนวรั้ว และไหล่ทาง ปลูกพืชที่ลงทุนน้อย การดูแลรักษาง่าย ได้แก่ ไผ่เลี้ยงหวาน ไผ่รวก ไผ่ตง ไผ่กิมซุง กระถินเทพา หมาก มะพร้าว และเทียม

41 สถานีวิจัยคลองหอยโข่ง
ผลิตกล้าปาล์มน้ำมันพันธุ์ปาล์มน้ำมันลูกผสมเนอเทอรา พันธุ์ทรัพย์ ม.อ.1 พืชพื้นเมือง โคพื้นเมือง ยาง ปุ๋ย ดินผสม กล้ายางชำถุง RRM600 ศูนย์วิจัยสัตว์เคี้ยวเอื้องขนาดเล็ก

42 ผลิตและจำหน่ายต้นกล้า ปี 2553 ประมาณ 30,000 ต้น

43 ทำวิจัยด้านปาล์มน้ำมัน ของมูลนิธิชัยพัฒนา จังหวัดพังงา จำนวน 2 โครงการ คือ
1. การทดสอบประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ยจากวิธีการใส่ปุ๋ยแบบต่างๆ การจัดการดินและปุ๋ยแบบผสมผสานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตปาล์มน้ำมัน เสวนาวิชาการ เรื่อง “ปาล์มน้ำมัน : ความมั่นคงทางอาหาร โอกาสของพลังงานทางเลือก และความยั่งยืนของเกษตรกร” และลงนามและความร่วมมือทางวิชาการระหว่างมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ม.อ.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) วิจัยพันธุ์ปาล์มน้ำมัน 3 ปี ประมาณ 12 ล้านบาท

44

45 โครงการอนุรักษ์พันธุ์ผักพื้นบ้านและไม้ผลพื้นเมืองภาคใต้ อันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

46 แหล่งความพร้อมการวิจัยและพัฒนา
แหล่งพันธุกรรมปาล์มน้ำมันเพื่อการพัฒนาพันธุ์ ศึกษาและทำแปลงยางพาราต้นตอเพื่อผลิตกล้ายางพารา ประชากรแพะเพื่อผลิตสายพันธุ์แพะ แปลงไม้ผล มังคุด ลองกอง ทุเรียน เงาะ แหล่งพันธุกรรม พืชผักพันธุ์ในท้องถิ่น ถั่วฝักยาว พริกขี้หนู แตงกวา จุลินทรีย์และแมลงตัวห้ำตัวเบียนสำหรับการป้องกันกำจัดศัตรูพืชโดยชีววิธี

47 ผลการดำเนินงานองค์ประกอบที่ 5 การบริการวิชาการแก่สังคม
ผลการประเมินองค์ประกอบเท่ากับ 5.00 ระบบและกลไกการบริการทางวิชาการแก่สังคม ข้อ กระบวนการบริการทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม 5 ข้อ ผลการนำความรู้และประสบการณ์จากการให้บริการวิชาการ ร้อยละ 71.43 มาใช้ในการพัฒนา การเรียนการสอนและการวิจัย ผลการเรียนรู้และเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนหรือองค์กรภายนอก 5 ข้อ ผลการชี้นำ ป้องกัน หรือแก้ปัญหาของสังคมในประเด็นที่ ๑ ภายในสถาบัน บำรุงศาสนาและเทิดทูนพระมหากษัตริย์ ข้อ ผลการชี้นำ ป้องกัน หรือแก้ปัญหาของสังคมในประเด็นที่ ๒ ภายนอกสถาบัน งานเกษตรภาคใต้ ข้อ

48 เสวนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้งานวิจัยยางพารา
เสวนา “การเพิ่มผลผลิตยางพารา” อบรม “เทคนิคการเพิ่มผลผลิตยางพารา" อบรม "แนวทางการผลิตผลผลิตการเกษตรให้ปลอดภัย (Agricultural safety)“ อบรมการเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจ (ไก่พื้นเมืองและสุกร) อบรม เป็นวิทยากร และให้คำปรึกษาเรื่อง การจัดการสวนปาล์มน้ำมัน อบรมการจัดการสารสนเทศในเครือข่ายสารสนเทศเกษตรไทย โครงการ ธารน้ำใจจากม.อ.สู่ชนบท จัดอบรมเรื่อง Q อาสาร่วมกับ มกอช.และร่วมเป็นเครือข่ายกับ มกอช.

49 การจัดการฝึกอบรม จัดนิทรรศการ
การฝึกอบรมเรื่อง การเลี้ยงผึ้งพันธุ์ในระบบนิเวศเกษตร นิทรรศการ “เทคนิคการเลี้ยงผึ้งพันธุ์ในระบบนิเวศเกษตร” ในงาน ม.อ.วิชาการ และ งานเกษตรภาคใต้

50 จัดงานเกษตรภาคใต้ - จัดบรรยายพิเศษร่วมกับร้านหนังสือ เดอะแมกกาซีน - พัฒนาตลาดนัดเกษตร/ชุมชน - เผยความรู้ บทความทางวิชาการ

51 โครงการสาระความรู้ทางการเกษตร “คุยเฟื่องเรื่องเกษตร” จำนวน 24 เรื่อง
“คุยเฟื่องเรื่องเกษตร” จำนวน 24 เรื่อง บทความวิชาการเผยแพร่บนระบบ share.psu.ac.th จำนวน 32 เรื่อง บทความวิชาการเผยแพร่ทางเว็บไซต์ จำนวน 55 เรื่อง กิจกรรมขยายผลจำนวน 8 ครั้ง

52 ผลการดำเนินงานองค์ประกอบที่ 6 การทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
ผลการประเมินองค์ประกอบเท่ากับ 5.00 ระบบและกลไกการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม 5 ข้อ การส่งเสริมและสนับสนุนด้านศิลปะและวัฒนธรรม 4 ข้อ การพัฒนาสุนทรียภาพในมิติทางศิลปะและวัฒนธรรม 4 ข้อ

53 จัดงาน "สืบสานงานประเพณีสงกรานต์ สานสายใยชาวทรัพยากร"
จัดงาน "สืบสานงานประเพณีสงกรานต์ สานสายใยชาวทรัพยากร" พิธีสรงน้ำพระพุทธรูป ทำบุญเลี้ยงพระ ประกวดแต่งกายด้วยผ้าไทย พิธีรดน้ำขอพรจากบุคลากรผู้อาวุโส

54 ผลการดำเนินงานองค์ประกอบที่ 7 การบริหารและการจัดการ
ผลการประเมินองค์ประกอบเท่ากับ 4.73 ภาวะผู้นำของสภาสถาบันและผู้บริหารทุกระดับของสถาบัน 7 ข้อ การพัฒนาสถาบันสู่สถาบันเรียนรู้ ข้อ ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารและการตัดสินใจ ข้อ ระบบบริหารความเสี่ยง ข้อ การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของสภาสถาบัน (คณะ/หน่วยงาน) 4.27 การปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารสถาบัน (คณะ/หน่วยงาน) 3.92

55 สกัดความรู้จากการวิจัยเผยแพร่ เวทีการแลกปลี่ยนเรียนรู้ภายในคณะ
การใช้ share.psu จัดการความรู้ และเผยแพร่ความรู้ในสื่อต่าง ๆ สกัดความรู้จากการวิจัยเผยแพร่ เวทีการแลกปลี่ยนเรียนรู้ภายในคณะ ได้รางวัลการใช้ share.psu จากมหาวิทยาลัย การใช้ facebook สื่อสาร สัมพันธ์กับนักศึกษา ศิษย์เก่า และบุคลากร

56 การบันทึกความรู้ในงานผ่านระบบ Share PSU

57 เวทีพัฒนาบุคลากรตามระบบประกันคุณภาพเป็นประจำทุกปีในทุกสายงาน

58 พัฒนาบุคลากร อบรม ประชุมเพื่อรับฟัง/แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้บริหารคณะฯ ถึงความสำคัญของการวิจัยสถาบัน และการสนับสนุนจากคณะฯ กิจกรรมมหกรรม Share เรื่อง “การบริหารจัดการเงินรายได้คณะทรัพยากรธรรมชาติ” ส่งเสริมการใช้สื่อและเทคโนโลยีด้านคอมพิวเตอร์ โดยพัฒนาโปรแกรมและถ่ายทอดความรู้เทคโนโลยีใหม่ รวมทั้งการพัฒนาบุคลากรด้านคอมพิวเตอร์อย่างต่อเนื่อง

59 กิจกรรมส่งเสริมกิจกรรม 5ส และการพัฒนาคณะ
การนำเสนอผลงานกิจกรรม 5ส และการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ “ ทำอย่าง 5ส ในองค์กรจึงจะยั่งยืน” กิจกรรม ส ที่ 6 จิตสำนึกสาธารณะ กิจกรรม Big Cleaning Day ปีการศึกษา 2553

60 ผลการดำเนินงานองค์ประกอบที่ 8 ผลการประเมินองค์ประกอบเท่ากับ 5.00
การเงินและงบประมาณ ผลการประเมินองค์ประกอบเท่ากับ 5.00 ระบบและกลไกการเงินและงบประมาณ 7 ข้อ

61 ใช้ผลการประเมินไปปรับปรุงการปฏิบัติภารกิจอย่างต่อเนื่อง
ผลการดำเนินงานองค์ประกอบที่ 9 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ผลการประเมินองค์ประกอบเท่ากับ 4.35 ระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน 8 ข้อ ผลประเมินการประกันคุณภาพภายในรับรองโดยต้นสังกัด 4.70 ใช้ผลการประเมินไปปรับปรุงการปฏิบัติภารกิจอย่างต่อเนื่อง ประเมินคุณภาพ ประเมินบัณฑิต ประเมินการจัดการเรียนการสอนของของนักศึกษาและบัณฑิต ประเมินกรรมการประจำคณะ ประเมินความพึงพอใจของบุคลากร ประเมินความเสี่ยง การตรวจสอบภายใน

62 กิจกรรม นำเสนองานพัฒนาตามระบบประกันคุณภาพ
กิจกรรม นำเสนองานพัฒนาตามระบบประกันคุณภาพ

63 ผลการดำเนินงานองค์ประกอบที่ 10 ไม่มีการประเมินผลการดำเนินงาน
สถานศึกษา 3 ดี (3D) ไม่มีการประเมินผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการสถานศึกษา 3 ดี ข้อ ผลที่เกิดกับผู้เรียนตามนโยบาย 3 ดี (3D) ด้าน มีความรู้ เจตนคติที่ดี ตลอดจนเกิดพฤติกรรม

64 ตัวบ่งชี้ของสำนักงาน ก.พ.ร. มิติที่ 1 มิติด้านประสิทธิผล
ไม่มีการประเมินผลการดำเนินงาน จำนวนผลงานวิจัยหรืองานสร้างสรรค์ที่ได้รับ การจดทะเบียนสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร ร้อยละ 0.35

65 ขอขอบคุณ คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน ทุกท่าน
ขอขอบคุณ คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน ทุกท่าน


ดาวน์โหลด ppt การประเมินคุณภาพภายใน ประจำปีการศึกษา/ ปีงบประมาณ 2553 วันที่ 19 และ 20 กรกฎาคม 2554 คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google