ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSudarak Prapass ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
รายงานอุบัติเหตุขนส่ง ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ โรงพยาบาลหาดใหญ่
2
วัตถุประสงค์ : เพื่อสะท้อนสถานการณ์บาดเจ็บ
จากอุบัติเหตุการขนส่งที่รับการรักษา ในโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ และโรงพยาบาลหาดใหญ่ ปี 2552 ติดตามแนวโน้มจากข้อมูลผู้ป่วยระหว่างปี
3
ข้อมูล : แหล่งที่มาข้อมูล งานเวชระเบียน โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
งานเวชระเบียน โรงพยาบาลหาดใหญ่ ข้อมูลนำเสนอ ผู้ป่วยเสียชีวิตที่ห้องฉุกเฉิน : จำนวนรายเดือน เพศ ผู้ป่วยนอก : จำนวนรายเดือน เพศ อายุ จยย. ผู้ป่วยใน : จำนวนรายเดือน เพศ อายุ จยย. หมายเหตุ : - การนำเสนอข้อมูล เน้นรถจักรยานยนต์ - ผู้ป่วยนอกคือ ผู้บาดเจ็บที่ได้รับการรักษาแล้วกลับบ้าน - ผู้ป่วยในคือ ผู้บาดเจ็บที่ต้องได้รับการรักษาต่อเป็นผู้ป่วยของโรงพยาบาล
4
จำนวน (ข้อมูลดิบ) สัดส่วน (%) วิธีเสนอ :
หมายเหตุ : สัดส่วน(%) คือ ร้อยละของจำนวนอุบัติการณ์แต่ละเดือน/จำนวนอุบัติการณ์เฉลี่ยต่อเดือนของปีเดียวกัน เพื่อเปรียบเทียบข้อมูลของแต่ละเดือนระหว่างปี
5
เสียชีวิตก่อนถึงห้องฉุกเฉิน ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
เสียชีวิตก่อนถึงห้องฉุกเฉิน ปี โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 14 คน ชาย 9 อายุ ปี อายุเฉลี่ย 37 ปี ค่ามัธยฐาน(median) = 39 หญิง 4 อายุ ปี อายุเฉลี่ย 40 ปี ค่ามัธยฐาน(median) = 45
6
เสียชีวิตก่อนถึงห้องฉุกเฉิน ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
เสียชีวิตก่อนถึงห้องฉุกเฉิน ปี โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จำนวน ข้อมูล : ชาย 9 จากรถจยย. 4 หญิง 4 จากรถจยย. 3
7
ผู้ป่วยนอก(รักษาแล้วกลับบ้าน) ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
ผู้ป่วยนอก(รักษาแล้วกลับบ้าน) ปี โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 3,188 ราย เฉลี่ย = 266 ราย/เดือน ชาย = 55% (1,742/3,188) จยย. = 84% ของทั้งหมด (2,665/3,188) จยย.ชาย = 54% ของจยย.ทั้งหมด (1,434/2,665) อายุ <35 ปี = 74% (2,351/3,188)
8
ผู้ป่วยนอก : หญิง/ชาย /รายเดือน ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
ผู้ป่วยนอก : หญิง/ชาย /รายเดือน ปี โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จำนวน ข้อคิดเห็น: ชาย = 55% (1,742/3,188) ความแตกต่างไม่เด่นชัดระหว่างชาย หญิง ข้อมูล : เดือนธันวาคม มีผู้ป่วยสูงสุด
9
ผู้ป่วยนอก : จยย.ชาย/จยย.ทั้งหมด ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
ผู้ป่วยนอก : จยย.ชาย/จยย.ทั้งหมด ปี โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จำนวน ข้อมูล : จยย.ทั้งหมด = 84% ของผู้ป่วยรวม (2,665/3,188) จยย.ชาย = 54% ของจยย.ทั้งหมด (1,434/2,665)
10
ผู้ป่วยนอก : จำแนกอายุ ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
ผู้ป่วยนอก : จำแนกอายุ ปี โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จำนวน ข้อคิดเห็น : 6 ใน 10 ราย เป็นผู้ป่วยเด็กและเยาวชนอายุต่ำกว่า 25 ปี หมายเหตุ : % = จำนวนอุบัติการณ์ตามช่วงอายุ/จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด
11
ผู้ป่วยใน(ตรวจแล้วต้องรับไว้รักษา) ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
ผู้ป่วยใน(ตรวจแล้วต้องรับไว้รักษา) ปี โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ 751 ราย เฉลี่ย = 63 ราย/เดือน ชาย = 71% (535/751) จยย. = 73% ของทั้งหมด (546/751) จยย.ชาย = 74% ของจยย.ทั้งหมด (402/546) อายุ <35 ปี = 63% (472/751) อายุ >45 ปี = 25% (188/751)
12
ผู้ป่วยใน : หญิง/ชาย /รายเดือน ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
ผู้ป่วยใน : หญิง/ชาย /รายเดือน ปี โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จำนวน ข้อคิดเห็น : ชาย = 71% (537/751) สูงกว่าหญิง 2.5 เท่า
13
ผู้ป่วยใน : จยย.ทั้งหมด/จยย.ชาย ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
ผู้ป่วยใน : จยย.ทั้งหมด/จยย.ชาย ปี โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จำนวน ข้อมูล : จยย.ทั้งหมด = 73 % ของผู้ป่วยรวม (546/751) จยย.ชาย = 74% ของจยย.ทั้งหมด (402/546)
14
ผู้ป่วยใน : จำแนกอายุ ปี 2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
ผู้ป่วยใน : จำแนกอายุ ปี โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ จำนวน ข้อคิดเห็น : 1 ใน 4 ของผู้ป่วย อายุ > 45 ปี หมายเหตุ : % = จำนวนอุบัติการณ์ตามช่วงอายุ/จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด
15
ผู้ป่วยทั้งหมด : เปรียบเทียบสัดส่วนเฉลี่ยรายเดือนของ ปี 2548-2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
ปี ,860 ราย เฉลี่ย = 322 ราย/เดือน ปี ,078 ราย เฉลี่ย = 340 ราย/เดือน ปี ,798 ราย เฉลี่ย = 317 ราย/เดือน ปี ,981 ราย เฉลี่ย = 332 ราย/เดือน ปี ,939 ราย เฉลี่ย = 328 ราย/เดือน
16
ผู้ป่วยทั้งหมด : เปรียบเทียบสัดส่วนเฉลี่ยรายเดือนของปี 2548-2552 โรงพยาบาลสงขลานครินทร์
%ของค่าเฉลี่ยต่อเดือน ข้อคิดเห็น : ข้อมูล 5 ปีย้อนหลัง พบว่า เดือนม.ค. ก.ค. และส.ค. มีสัดส่วนสูงกว่าเดือนอื่น ๆ หมายเหตุ : % = ค่าเฉลี่ยผู้ป่วยรายเดือนของปี /ค่าเฉลี่ยต่อเดือนของปี
17
เสียชีวิตก่อนถึงห้องฉุกเฉิน ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่
เสียชีวิตก่อนถึงห้องฉุกเฉิน ปี โรงพยาบาลหาดใหญ่ จำนวน ข้อมูล : ชาย 9 คน หญิง 6 คน
18
ผู้ป่วยนอก(รักษาแล้วกลับบ้าน) ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่
ผู้ป่วยนอก(รักษาแล้วกลับบ้าน) ปี โรงพยาบาลหาดใหญ่ 5,281 ราย เฉลี่ย = 440 ราย/เดือน ชาย = 57% (3,002/5,281) จยย. = 83% ของทั้งหมด (4,400/5,281) จยย.ชาย = 57% ของจยย.ทั้งหมด (2,523/4,400) อายุ <35 ปี 76% (3,962/5,281)
19
ผู้ป่วยนอก : หญิง/ชาย /รายเดือน ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่
ผู้ป่วยนอก : หญิง/ชาย /รายเดือน ปี โรงพยาบาลหาดใหญ่ จำนวน ข้อมูล : เดือนกรกฎาคม มีผู้ป่วยสูงสุด
20
ผู้ป่วยนอก : จยย.ชาย/จยย.ทั้งหมด ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่
ผู้ป่วยนอก : จยย.ชาย/จยย.ทั้งหมด ปี โรงพยาบาลหาดใหญ่ จำนวน ข้อมูล : จยย.ทั้งหมด = 83 % ของผู้ป่วยรวม (4,400/5,281) จยย.ชาย = 57% ของจยย.ทั้งหมด (2,523/4,400)
21
ผู้ป่วยนอก : จำแนกอายุ ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่
ผู้ป่วยนอก : จำแนกอายุ ปี โรงพยาบาลหาดใหญ่ จำนวน ข้อคิดเห็น : 7-8 ใน 10 ราย อายุ < 35 ปี หมายเหตุ : % = จำนวนอุบัติการณ์ตามช่วงอายุ/จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด
22
ผู้ป่วยใน(ตรวจแล้วต้องรับไว้รักษา) ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่
ผู้ป่วยใน(ตรวจแล้วต้องรับไว้รักษา) ปี โรงพยาบาลหาดใหญ่ 2,678 ราย เฉลี่ย = 223 ราย/เดือน ชาย = 69% (1,858/2,678) จยย. = 80% ของทั้งหมด (2,153/2,678) จยย.ชาย = 69% ของจยย.ทั้งหมด (1,490/2,153) อายุ <35 ปี 64% (1,721/2,678)
23
ผู้ป่วยใน : หญิง/ชาย /รายเดือน ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่
ผู้ป่วยใน : หญิง/ชาย /รายเดือน ปี โรงพยาบาลหาดใหญ่ จำนวน ข้อคิดเห็น : ชาย = 69% (1,858/2,6178) สูงกว่าหญิง 2 เท่า
24
ผู้ป่วยใน : จยย.ชาย/จยย.ทั้งหมด ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่
ผู้ป่วยใน : จยย.ชาย/จยย.ทั้งหมด ปี โรงพยาบาลหาดใหญ่ จำนวน ข้อมูล : จยย.ทั้งหมด = 80 % ของผู้ป่วยรวม (2,153/2,678) จยย.ชาย = 69% ของจยย.ทั้งหมด (1,490/2,153)
25
ผู้ป่วยใน : จำแนกอายุ ปี 2552 โรงพยาบาลหาดใหญ่
ผู้ป่วยใน : จำแนกอายุ ปี โรงพยาบาลหาดใหญ่ จำนวน ข้อคิดเห็น : 43% ของผู้ป่วยเป็นเด็กและเยาวชนอายุ < 25 ปี หมายเหตุ : % = จำนวนอุบัติการณ์ตามช่วงอายุ/จำนวนผู้ป่วยทั้งหมด
26
เปรียบเทียบผู้ป่วยทั้งหมด ปี 2551-2552 : รายเดือน โรงพยาบาลหาดใหญ่
เปรียบเทียบผู้ป่วยทั้งหมด ปี : รายเดือน โรงพยาบาลหาดใหญ่ %ของค่าเฉลี่ยต่อเดือน ข้อคิดเห็น : เดือนพ.ย. มีสัดส่วนผู้ป่วยต่ำกว่าเดือนอื่น ๆ หมายเหตุ : % = จำนวนผู้ป่วยรายเดือน/ค่าเฉลี่ยต่อเดือนของปีเดียวกัน
27
สรุป กลุ่มเสี่ยง : เพศชาย
7 ใน 10 ราย ของผู้บาดเจ็บต้องรับไว้รักษาต่อในโรงพยาบาล เป็นชาย กลุ่มเสี่ยง : รถจักรยานยนต์ 8 ใน 10 ราย ของผู้บาดเจ็บ มาจากรถจักรยานยนต์ กลุ่มเสี่ยง : อายุ < 35 ปี 7 ใน 10 ราย ของผู้บาดเจ็บ อายุต่ำกว่า 35 ปี 5 ใน 10 ราย ของผู้บาดเจ็บ อายุต่ำกว่า 25 ปี กลุ่มเสี่ยง : อายุ >45 ปี 1 ใน 4 ราย ของผู้บาดเจ็บที่ต้องรับไว้รักษาต่อในโรงพยาบาล อายุมากกว่า 45 ปี
28
ข้อเสนอแนะ มาตรการลดความเสี่ยงรถจักรยานยนต์
จัดแบ่งช่องทางสำหรับรถจักรยานยนต์ รณรงค์ความปลอดภัยการใช้รถจักรยานยนต์ เช่น เปิดไฟหน้ารถ ไม่วางสิ่งของในตระกร้าหน้ารถ สวมหมวกกันน็อค ตรวจสอบสภาพรถ เช่น ไฟสัญญาณ ฯลฯ มาตรการเพิ่มความปลอดภัยรถจักรยานยนต์ ส่งเสริมการฝึกทักษะขับขี่ที่ถูกต้อง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.