งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 1 Introduction เศรษฐศาสตร์จุลภาค คืออะไร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 1 Introduction เศรษฐศาสตร์จุลภาค คืออะไร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 1 Introduction เศรษฐศาสตร์จุลภาค คืออะไร ประเด็นที่เกี่ยวข้องเมื่อพูดถึงวิชาเศรษฐศาสตร์จุลภาค Market Positive VS Normative Real VS Nominal Prices ทำไมต้องเรียน วิชาเศรษฐศาสตร์จุลภาค (บรรยาย)

2 เศรษฐศาสตร์จุลภาค คืออะไร
การตัดสินใจ เศรษฐศาสตร์จุลภาค คือ ว่าด้วยการศึกษาถึงพฤติกรรมทางเศรษฐกิจของหน่วยเศรษฐกิจแต่ละหน่วย และความสัมพันธ์ระหว่างหน่วยเศรษฐกิจเหล่านั้น ตลาด เศรษฐศาสตร์จุลภาค คือ วิชาที่ศึกษาถึง 1 การตัดสินใจ ของหน่วยเศรษฐกิจย่อย 2 ตลาด

3 วิธีการศึกษาเศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เป็นวิชาสังคมศาสตร์ที่ใช้วิธีศึกษาแบบวิทยาศาสตร์ วิธีศึกษาแบบวิทยาศาสตร์ คือ เน้น การอธิบาย (Explanation) การทำนาย (Prediction) อยู่บนพื้นฐานของทฤษฎี และมีการตรวจสอบเสมอ

4 2. ประเด็นที่เกี่ยวข้องเมื่อพูดถึงวิชาเศรษฐศาสตร์จุลภาค
2.1 Market 2.2 Positive VS Normative 2.3 Real VS Nominal Price

5 2.1 ตลาดคืออะไร หน่วยเศรษฐกิจสามารถแบ่งออกตามหน้าที่ได้ 2 พวก คือ
2.1 ตลาดคืออะไร หน่วยเศรษฐกิจสามารถแบ่งออกตามหน้าที่ได้ 2 พวก คือ ผู้ซื้อ (Buyers) ผู้ขาย (Sellers) ผู้ซื้อ คือ ผู้บริโภคที่ซื้อสินค้า และบริการ ผู้ผลิตที่ซื้อปัจจัยการผลิตเพื่อใช้ในการตลาด ผู้ขาย คือ ผู้ผลิตที่ขายสินค้า และบริการที่ผลิตได้ เจ้าของปัจจัยการผลิตที่ขายปัจจัยการผลิต เช่น เจ้าของ ที่ดินให้เช่าที่ดิน แรงงาน

6 ตลาดคืออะไร ผู้ซื้อกับผู้ขาย เกิดความสัมพันธ์ (แลกเปลี่ยน) เกิดเป็นตลาด ตลาด คือ กลุ่มผู้ซื้อและผู้ขายที่ทำการตกลงกันในการซื้อขายสินค้าและบริการ ตลอดจนปัจจัยการผลิต ใครคือผู้ซื้อ? ใครคือผู้ขาย?

7 Q & A ถาม ตลาดกับอุตสาหกรรม (Industry) เหมือนหรือต่างกันอย่างไร
อุตสาหกรรม คืออะไร อุตสาหกรรม คือ กลุ่มของผู้ผลิตที่ผลิตสินค้าชนิดเดียวกัน หรือคล้าย ๆกัน ตอบ อุตสาหกรรม เป็นด้าน Supply ของตลาด

8 ตลาด (ต่อ) ขนาด/ขอบเขต ของตลาด(Extent of a Market) พิจารณาจาก
- ลักษณะทางภูมิศาสตร์ เช่น ตลาดน้ำมันในประเทศไทย ตลาดน้ำมันในจังหวัดสงขลา - ประเภทของสินค้า เช่น regular, super, & diesel

9 ประเภทของตลาด เกณฑ์ในการแบ่งประเภทตลาด - จำนวนผู้ผลิตและผู้บริโภค
- จำนวนผู้ผลิตและผู้บริโภค - ความสามารถในการทดแทนของสินค้าในตลาด - ความสะดวกในการเข้าออกตลาด - ความสมบูรณ์ของข้อมูล - สภาพภูมิศาสตร์

10 ประเภทของตลาด ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์
ตลาดผูกขาด (Monopoly) ตลาดที่มีผู้ขายน้อยราย (Oligopoly) ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic Competition)

11 ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ ( Competitive Market)
จำนวนผู้บริโภค และผู้ขายมาก ราคากำหนดโดยตลาด (Price Taker) สินค้าในตลาดทดแทนกันได้มาก เข้าออกตลาดอย่างอิสระ เคลื่อนย้ายทรัพยากรการผลิตสมบูรณ์ ทุกคนเข้าถึงข้อมูลได้อย่างสมบูรณ์ ตัวอย่างเช่น ตลาดหุ้น

12 ตลาดผูกขาด (Monopoly)
มีผู้ผลิตเพียงรายเดียว Monopolist ผู้ขายสามารถกำหนดราคาได้ – มีอำนาจผูกขาด Monopoly Power มีสินค้าทดแทนน้อยมาก กีดกันผู้ขายรายอื่นได้ ตัวอย่างเช่น ตลาดโทรศัพท์มือถือในสมัยก่อน

13 ตลาดที่มีผู้ขายน้อยราย (Oligopoly)
มีผู้ขาย 2-3 ราย ผู้ขายจะแข่งขันกันขาย หรือ รวมหัวกันเหมือนกับตลาดผูกขาด (Cartel) สินค้าในตลาดทดแทนกันได้มาก การเปลี่ยนแปลงราคาของผู้ผลิตรายหนึ่งจะมีผลต่อผู้ผลิตรายอื่นมาก เช่น ตลาดโทรศัพท์มือถือในปัจจุบัน ตลาดน้ำมันโลก ตัวอย่างเช่น ตลาดโทรศัพท์มือถือในสมัยปัจจุบัน ตลาดน้ำมันโลก

14 ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด (Monopolistic Competition)
มีผู้ขายมาก สินค้าในตลาดคล้ายคลึงกันแต่ ทดแทนกันได้ไม่สมบูรณ์ สินค้าคล้ายกันแต่ต่างยี่ห้อ เช่น สบู่ บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป ชาเขียว เข้าออกตลาดอย่างอิสระ

15 2.2 Positive VS Normative การศึกษาเศรษฐศาสตร์แบ่งเป็น 2 ลักษณะ
ศึกษาสิ่งที่เคยเป็นในอดีต (What is ) กำลังเป็นอยู่ (What was ) และกำลังจะเป็น ( What will be) Positive Economics ศึกษาสิ่งที่ควรจะเป็น ( What ought to be) Normative Economics

16 2.3 Real VS Nominal Prices “เมื่อ 10 ปีที่แล้วก๋วยเตี๋ยวที่โรงช้าง ราคา ชามละ 10 บาท เดี๋ยวนี้ชามละ 15 บาท อดีตถูกกว่าปัจจุบันถึง 5 บาท” Q: การเปรียบเทียบดังกล่าวถูกต้องหรือไม่ ? - ควรคำนึงถึงค่าของเงินตามเวลาด้วย Nominal Price คือ ราคาตามป้ายที่ปรากฏในห้าง ณ.ปีนั้นๆ Real Price คือ ราคาที่เปรียบเทียบกับราคาสินค้าอื่นๆ ณ.ปีนั้นๆ ใช้ CPI แทน (CPI:Consumer Price Index)

17 CPI CPI คำนวณจาก มูลค่าในปีปัจจุบันของ ตระกร้าสินค้า ที่คนนิยมบริโภค เทียบกับมูลค่าในปีฐาน อธิบาย 1) เอาของที่คนนิยมบริโภคมา 1 ตระกร้าใหญ่ๆ ดูว่ามูลค่าในปีฐานเป็นเท่าไหร่......(A) A = (P0xX + P0yY +…. ) 2) แล้วเอาตระกร้านั้นมาคำนวณดูว่า มูลค่าเป็นเท่าไหร่ในปีปัจจุบัน.....(B) B = ( P1xX + P1yY +….) 3) CPI ปีปัจจุบัน = [(B)/(A)]*100

18 แบบฝึกหัด ค่าตั๋วดูหนัง ถามว่า ปี 2530 ราคา 40 บาท CPI = 38.8
ราคาของตั๋วดูหนังในปี 2530 หรือ 2547 แพงกว่ากัน และแพงกว่ากันกี่บาท หากคิดในรูปของค่าเงินในปี 2530? แนวคำตอบ แปลงราคาปี 47 เป็นราคาปี 30  X = (90*38.8)/144) X = 24.25

19 Examples 1. Ford and the development of its SUV’s Questions :
Why Study Microeconomics? Examples 1. Ford and the development of its SUV’s Questions : Consumer acceptance and demand (Ch 3, 4, 5) Production cost (Ch 6, 7, 8) Pricing strategy (Ch 10, 11, 12, 13) Risk analysis (Ch 2, 5, 9, 14, 15 ) Organizational decisions (Ch 11, 17) Government regulation (Ch 18)

20 2. Auto emission standards for the 21st century Questions
Why Study Microeconomics? 2. Auto emission standards for the 21st century Questions Impact on consumers (Ch 3, 4,) Impact on producers (Ch 6, 7, 8, 10-13) How to enforce the standards (Ch 18) What are the benefits and costs? ( )


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 1 Introduction เศรษฐศาสตร์จุลภาค คืออะไร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google