ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPaanthath Chirapaisarnsakul ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การหักเห เมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางหนึ่ง ไปอีกตัวกลางหนึ่ง ซึ่งมีอัตราเร็วไม่เท่ากัน โดยมีทิศไม่ตั้งฉากกับรอยต่อระหว่างตัวกลาง แสงจะมีทิศทางเปลี่ยนไป การหักเหแสง แบ่งเป็น 1 การหักเหเข้าหาเส้นปกติ 2 การหักเหออกจากเส้นปกติ
2
การหักเหเข้าหาเส้นปกติ
เกิดเมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางความเร็วมาก ไปยังตัวกลางความเร็วน้อย ( เช่น อากาศไปน้ำ ) ความเร็วมาก ความเร็วน้อย
3
การหักเหออกจากเส้นปกติ
เกิดเมื่อแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางความเร็วน้อย ไปยังตัวกลางความเร็วมาก ความเร็วน้อย ความเร็วมาก
4
การหักเหของแสงทุกแบบ เป็นตามกฎของสเนลส์
ดัชนีหักเหของแสงในตัวกลางหักเห เทียบกับ อากาศ เรียกย่อ ๆ ว่า “ดัชนีหักเหของแสงในตัวกลางหักเห” การหักเหของแสงทุกแบบ เป็นตามกฎของสเนลส์ ดัชนีหักเหของแสงในตัวกลางหักเห เทียบกับ ตัวกลางตกกระทบ ดัชนีหักเหของแสงในตัวกลางตกกระทบ เทียบกับ อากาศ เรียกย่อๆว่า “ดัชนีหักเหของแสงในตัวกลางตกกระทบ”
5
แสงตกกระทบในอากาศ หักเหเข้าไปใน แก้ว
ตัวอย่าง ถ้าดัชนีหักเหของแก้ว เป็น 4/3 จงหาความเร็วแสงในแก้ว ดัชนีหักเหของแก้ว เทียบ อากาศ=4/3 แสงตกกระทบในอากาศ หักเหเข้าไปใน แก้ว
6
ต่อ อากาศ แก้ว
7
ต่อ อากาศ แก้ว
8
ตัวอย่าง กำหนดดัชนีหักเหของแก้ว เป็น 4/3 ถ้าแสงตกกระทบมีความยาวคลื่น 4 cm ดังรูป จงหามุมหักเหและความยาวคลื่นหักเห อากาศ 30 แก้ว
9
มุมตกกระทบ 60 อากาศ 30 แก้ว มุมหักเห
10
ตัวอย่าง ถ้าดัชนีหักเหของแก้วเท่ากับ 1. 5 และดัชนีหักเหของน้ำเท่ากับ 1
ตัวอย่าง ถ้าดัชนีหักเหของแก้วเท่ากับ และดัชนีหักเหของน้ำเท่ากับ 1.3 ถ้าแสงตกกระทบในแก้วทำมุมตกกระทบ 37 รังสีหักเหจะทำมุมกับรอยต่อตัวกลางเท่าใด แก้ว น้ำ
11
มุมหักเห = 90-43.63=หาเองนะจ๊ะ
แก้ว มุมหักเห = =หาเองนะจ๊ะ น้ำ
12
มุมวิกฤติและการสะท้อนกลับหมด
ความเร็วมาก ความเร็วน้อย
13
มุมวิกฤติในตัวกลางความเร็วน้อยเทียบกับตัวกลางความเร็วมาก
14
มุมวิกฤติในน้ำเทียบกับแก้ว
15
มุมวิกฤติของน้ำเทียบกับอากาศ
16
มุมวิกฤติของแก้วเทียบกับอากาศ
17
อากาศ แก้ว
18
อากาศ แก้ว ลึกปรากฏ ลึกจริง
19
อากาศ แก้ว
26
การรวมกันของคลื่น 1 การรวมกันใน 1 มิติ 2 การรวมกันใน 2 มิติ
1 การรวมกันใน 1 มิติ 2 การรวมกันใน 2 มิติ 3 การรวมกันใน 3 มิติ
27
ดูโปรแกรมคอมพิวเตอร์
28
การแทรกสอด เมื่อคลื่นต่อเนื่องจากแหล่งกำเนิดอย่างน้อย 2 แหล่ง เคลื่อนที่รวมกัน เรียกว่า เกิดปรากฎการณ์แทรกสอด
29
สัน + สัน ท้อง+ท้อง ท้อง+สัน เสริมกัน (Antinode) หักล้าง Anode)
30
ดูโปรแกรมคอมพิวเตอร์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.