งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พระนางซูสีไทเฮา แห่งราชวงศ์ชิง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พระนางซูสีไทเฮา แห่งราชวงศ์ชิง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พระนางซูสีไทเฮา แห่งราชวงศ์ชิง

2 จักรพรรดิ์ปูยีแห่งราชวงศ์ชิง

3

4

5 โทกุงาวะ โยชิโนบุ โชกุนคนสุดท้าย

6

7

8

9 ไซโงะ ทะกะโมริ (西郷 隆盛 ), 1828 – 1877 และ นายพลเรือเพอร์รี่ ผู้นำการเปลี่ยนแปลงมาสู่ญี่ปุ่น

10 Saigō Takamori (upper right) directing his troops at the Battle of Shiroyama

11 Young Patriots in Satsuma 46 people gathered in Nagasaki with Saigo's command, Photo by Hiroma Ueno

12 Saigō Takamori Gunmusho (軍務所) banknote, issued in 1877 to finance his war effort

13

14 จักรพรรดิ์เมจิ

15 จักรพรรดิ์ไทโชและจักรพรรดิ์ฮิโรฮิโตะ

16

17

18

19

20

21

22 การแต่งกายชาวจีน สมัย ร.5

23

24 ห้วงเวลาและการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ
ประเทศจีน ราชวงศ์ชิงสิ้นสุด 1911 (1644 – 1911) สงครามฝิ่น 1840 – 1842 ประเทศญี่ปุ่น สิ้นสุดยุคโชกุน Perry มาญี่ปุ่น 1853 เริ่มยุคเมจิ (จักรพรรดิเมจิ) 1868 – 1912 ยุคไทโช 1912 – 1926 (ww ) ยุคโชวะ 1926 – 1989 (ww )

25 ห้วงเวลาและการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ
ประเทศไทย ร.4 ครองราชย์ 1851 – 1868 สนธิสัญญาเบาว์ริ่ง 1855 – 1916 คาบเกี่ยว 3 รัชกาล ร.4 – ร.6

26 วิวัฒนาการของระบบเศรษฐกิจไทย
1. ช่วงก่อนสนธิสัญญาเบาริ่ง 1855 ผลิตเพื่อเลี้ยงตัวเอง เหลือเอาไว้ จ่ายส่วย แลกเปลี่ยน รัฐบาลกำหนดการใช้ทรัพยากร การค้าผูกขาดผ่านพระคลังสินค้า ระบบกรรมสิทธิ์ยังไม่มี โครงสร้างชนชั้น เจ้า ขุนนาง ไพร่ ทาส การแบ่งงานกันทำมีน้อย การสะสมทุนต่ำ ส่วนเกินตกอยู่กับชนชั้นนำเอาไว้แลกสินค้าฟุ่มเฟือย

27 วิวัฒนาการของระบบเศรษฐกิจไทย
2. ช่วงสนธิสัญญเบาริ่งถึงสงครามโลกครั้งที่ 2 เปิดประเทศและเข้าร่วมการแบ่งงานกันทำระหว่างประเทศแบบอาณานิคม ผลิตสินค้าเฉพาะอย่าง (ขั้นปฐมเพื่อส่งออก) แลกกับการนำเข้าสินค้าสำเร็จรูปเพื่อการบริโภคจากประเทศทุนนิยมศูนย์กลาง กระบวนการผลิตภายในประเทศ พึ่งพาหรือถูกกำหนดจากต่างชาติ สินค้าหลัก ข้าว ไม้สัก ยาง ดีบุก ผลิตโดยทุนและเทคโนโลยีจากต่างชาติและ/หรือถูกนำไปส่งออก เช่น ข้าว แม้ผลิตโดยคนไทยแต่นำไปส่งเลี้ยงคนงานในอาณานิคม

28 วิวัฒนาการของระบบเศรษฐกิจไทย
ไม้สัก ดีบุก ผลิตและส่งออกโดยต่างชาติภายใต้ระบบสัมปทาน ยางพารา นำพันธุ์เข้ามาปลูก แต่เพื่อผลิตส่งออก ไม่มีอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ส่วนเกินจากการผลิต ส่วนที่ตกอยู่กับชนชั้นนำที่เป็นเจ้าของที่ดินหรือเจ้าของทุนก็นำไปบริโภค แต่ส่วนใหญ่ตกอยู่กับต่างชาติที่เป็นเจ้าของทุนและเทคโนโลยี ความสัมพันธ์แบบทุนนิยมศูนย์กลาง กับ ทุนนิยมรอบนอกแบบอาณานิคม จึงไม่เท่าเทียมกันเพราะต่างชาติมีอำนาจกำหนดเงื่อนไขการค้า กระบวนการผลิต+ส่วนเกิน ไม่ก่อให้เกิดการสะสมทุน

29 วิวัฒนาการของระบบเศรษฐกิจไทย
3.ช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 การแบ่งงานกันทำระหว่างประเทศเกิดขึ้นภายใต้เงื่อนไขใหม่ (1) แรงงานเหลือเฟือ (2)เทคโนโลยีการผลิตเพื่อการแบ่งขั้นตอนการผลิต ไม่ต้องอาศัยทักษะของแรงงานมาก ต.ย.การตัดเย็บเสื้อผ้า และ(3)เทคโนโลยีการสื่อสารคมนาคม ลดข้อจำกัดด้านระยะทางและเวลา ต.ย. call center นอกประเทศ โลกจึงแบนเพราะไม่มีอุปสรรค “การพัฒนาอุสาหกรรม” ไม่ว่าจะเพื่อทดแทนการนำเข้า หรือ เพื่อการส่งออก จึงเป็นเพียงการจัดระเบียบกระบวนการผลิตของทุนข้ามชาติด้วยเงื่อนไขใหม่ 3 ประการข้างต้น

30 วิวัฒนาการของระบบเศรษฐกิจไทย
การพัฒนาอุตสาหกรรม โดยทุนนิยมรอบนอกของไทยจึงกลายเป็น การพัฒนาอุสาหกรรมแบบพึ่งพา ดังจะสังเกตุได้จากคุณลักษณะที่สำคัญคือ (1)พึ่งพาทุนและเทคโนโลยีจากต่างชาติ การร่วมทุนจึงมักเป็นเพียงพิธีกรรมของการถือหุ้นแทนต่างชาติเพื่อให้เข้าเงื่อนไขการเป็นกิจการคนไทยเพื่อประโยชน์ด้านการส่งเสริมการลงทุนหรืออื่นๆ (2)การแบ่งปันผลประโยชน์ ทั้งในระดับเจ้าของกิจการ(ผู้ถือหุ้น)และระหว่างนายทุนกับแรงงานมักเป็นไปโดยไม่เป็นธรรม

31 วิวัฒนาการของระบบเศรษฐกิจไทย
(3)การขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม แม้จะเพิ่มการเจริญเติบโตจากการส่งออกแต่ก็เพิ่มการนำเข้า ทำให้มูลค่าเพิ่มตกอยู่ภายในประเทศต่ำ (4)โครงสร้างการผลิตจึงเปลี่ยนแปลงไป การขยายตัวในภาคอุตสาหกรรมที่เป็น secondary sector มีสัดส่วนต่อGDPมากกว่าภาคเกษตรที่เป็น primary sector ขณะที่ ภาคบริการที่เป็น tertiary sector มีสัดส่วนสูงอย่างผิดปกติเพราะมีต่างชาติเป็นผู้ประกอบการเป็นส่วนใหญ่


ดาวน์โหลด ppt พระนางซูสีไทเฮา แห่งราชวงศ์ชิง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google