งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 01387103 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา
อ.ชัชวาลย์ ชิงชัย

2 Adam Smith ค.ศ.1723-1790 (ปลายอยุธยา-ต้นรัตนโกสินทร์)
เกิดในสมัยสมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9 (พระราชโอรสพระเจ้าเสือ) พ.ศ ตายในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (ครองราชย์พ.ศ )

3 สมเด็จพระสรรเพชญ์ที่ 9(พระราชโอรสพระเจ้าเสือ) (24 ปี) สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ(พระราชโอรสพระเจ้าเสือ) (26ปี) สมเด็จพระเจ้าอุทุมพร(พระราชโอรสพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ)2301(2เดือน) สมเด็จพระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์(พระเจ้าเอกทัศ)(พระราชโอรสพระเจ้าอยู่หัว บรมโกศ) (9ปี)

4 นักปรัชญาศีลธรรมและ นักเศรษฐศาสตร์การเมืองผู้บุกเบิกชาว สกอตแลนด์
อดัม สมิธ เป็นผู้มีส่วนสำคัญในการกำหนดแนวคิด เศรษฐศาสตร์แนวตลาดเสรี เป็นบุคคลสำคัญในขบวนการที่เป็น ที่รู้จักในชื่อว่า "ยุคสว่างของสกอตแลนด์" (Scottish Enlightenment)

5 and Causes of the Wealth of Nations
ต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 18 อดัม สมิท (Adam Smith) ได้เขียนหนังสือชื่อ An Inquiry into the Nature and Causes of the Wealth of Nations หรือที่นิยมเรียกสั้นๆว่า The Wealth of Nations ใน ค.ศ นับได้ว่าเป็นตำราเศรษฐศาสตร์เล่มแรก และยิ่งใหญ่ที่สุด เล่มหนึ่งของโลกมาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งทำให้อดัม สมิทได้รับการยอมรับและยกย่องให้เป็น บิดาแห่งวิชาเศรษฐศาสตร์

6 The Wealth of Nations เป็นหนังสือ เศรษฐศาสตร์เล่มแรกกล่าวถึงทำอย่างไรประเทศจึงจะร่ำรวย พูด ถึงเรื่องกลไกสำคัญที่เชื่อมโยงระหว่างสังคมกับธุรกิจให้ ผลประโยชน์ร่วมกัน เรื่องกลไกของตลาด การกำหนดมูลค่าของ ราคาสิ่งของ การบริหารการคลัง การกระจายรายได้ การค้า ระหว่างประเทศ

7 Book One: Of the Causes of Improvements in the Productive Powers of Labour, and of the Order according to which its Produce is naturally distributed among the different Ranks of the People Book Two: Of the Nature, Accumulation, and Employment of Stock Book Three: Of the different Progress of Opulance in different Nations Book Four: Of Systems of Political Economy

8 ทุนนิยม (capitalism) เป็นระบบเศรษฐกิจที่ซึ่งผลิตภัณฑ์และสินค้ามีการ จำหน่าย แลกเปลี่ยนซื้อขายโดยทางเอกชน บริษัท หรือ กลุ่มธุรกิจ เพื่อสร้างผลกำไรให้กับหน่วยงาน โดยการ แลกเปลี่ยนสินค้าและการบริการ ที่มีการรองรับทาง กฎหมายและมีการแข่งขันการในเชิงการค้าเพื่อทำกำไร สูงสุดซึ่งไม่ได้ควบคุมโดยหน่วยงานกลางหรือจากทาง รัฐบาล

9 ทุนนิยมจะกล่าวถึง ทุนและที่ดินเป็นสมบัติส่วนบุคคล การ ตัดสินใจทางเศรษฐกิจเป็นกิจกรรมส่วนบุคคล ไม่ใช่การ ควบคุมบริหารโดยรัฐ และตลาดเสรีหรือเกือบเสรีจะเป็น ตัวกำหนดราคา ควบคุมและระบุทิศทางการผลิต รวมถึงเป็นที่ สร้างรายรับ บางคนกล่าวว่าระบบเศรษฐกิจในปัจจุบันของโลก ตะวันตกคือระบบทุนนิยม ในขณะที่หลายคนมองว่าในบาง ประเทศก็มีระบบเศรษฐกิจเป็นเศรษฐกิจแบบผสม กล่าวคือ มี ลักษณะเฉพาะของทั้งทุนนิยมและรัฐนิยม

10 เสรีนิยม (Liberalism) หมายถึง อุดมการณ์หรือ ความคิดทางการเมืองที่มุ่งให้สิทธิเสรีภาพแก่ปัจเจกบุคคล อย่างเต็มที่ภายใต้ขอบเขตของกฎหมาย หลักการพื้นฐานของ เสรีนิยม ได้แก่ สิทธิมนุษยชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสิทธิในชีวิต และทรัพย์สิน (right of life, property) ความ เสมอภาคสำหรับทุกคนภายใต้กฎหมาย การปกครองโดยการ เห็นชอบจากประชาชนโดยกระบวนการเลือกตั้ง ความโปร่งใส ในการปกครองบ้านเมือง

11 แนวความคิดเสรีนิยมเชื่อว่า โดยพื้นฐานมนุษย์นั้นมิได้ เป็นคนเลว แต่มนุษย์เป็นสัตว์ที่มีเหตุผล ดังนั้น ความร่วมมือ ทางเศรษฐกิจ การเมือง รวมถึง สันติภาพระหว่างประเทศจึง เป็นสิ่งที่เป็นไปได้ นักเสรีนิยมเชื่อว่าความสัมพันธ์ระหว่าง ประเทศนั้นเป็นเรื่องการมุ่งแสวงหาการพึ่งพาระหว่างกัน มากกว่าแสวงหาความมั่นคงทางอำนาจ ดังนั้นจึงเป็นที่มาของ การสร้างสถาบันระหว่างประเทศร่วมกัน รวมถึงจารีต แนว ปฏิบัติระหว่างประเทศเพื่อรักษาสันติภาพระหว่างรัฐให้คงอยู่

12 ลัทธิบริโภคนิยม(consumerism) หมายถึง ลัทธิที่ให้ ความสำคัญกับการเสพย์ การซื้อและบริโภควัตถุ ข้าวของ และสิ่งอำนวยความสะดวกต่าง ๆ โดยให้ความสำคัญกับ เงินมากกว่าคุณค่าทางจิตใจ

13 ลักษณะของลัทธิบริโภคนิยม
๑.ทัศนคติที่จะใฝ่เสพมากกว่าใฝ่ผลิต ความสุขต้องได้มาจาก การเสพ ๒.พฤติกรรมแบบอวดมั่งอวดมี ๓.ระบบการทำให้ทุกอย่างกลายเป็นสินค้า ลัทธิบริโภคนิยมจึงเป็น ลัทธิของสำเร็จรูป ได้มาอย่างง่าย ๆ ไว ๆ ไม่ต้องผลิต ใช้เงินซื้อไม่ต้องอาศัยการปฏิบัติหรือการลง แรง


ดาวน์โหลด ppt ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับพุทธศาสนา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google