ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยSuttipong Kraiputra ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
Chapter 4 Well logging methods and interpretation
2
Contents 4.1 Borehole environment 4.2 Drill return logging
4.3 Spontaneous potential log 4.4 Resistivity logs and Induction logs 4.5 Gamma ray log 4.6 Porosity logs
3
Well logs, wireline logs, logs หรือ การหยั่งธรณีในหลุมเจาะ เป็นการเก็บข้อมูลสมบัติของชั้นหินหรือตรวจสอบของไหลที่ถูกกักเก็บในชั้นหิน โดยการหย่อนเครื่องมือ (logging tools, probe, electrode, sonde) ลงในหลุมเจาะ ข้อมูลที่วัดได้ถูกส่งตามสายเคเบิลขึ้นสู่ผิวดินและอาจถูกบันทึกบนกระดาษ ฟิล์ม หรือเทปแม่เหล็ก ข้อมูลที่ได้อาจถูกวิเคราะห์ในรถเก็บข้อมูลที่อยู่บริเวณใกล้หลุมเจาะหรืออาจส่งไปยังศูนย์วิเคราะห์ข้อมูลผ่านทางสายโทรศัพท์ ทางคลื่นวิทยุ หรือระบบดาวเทียม การหยั่งธรณีในหลุมเจาะจะกระทำทันทีที่เสร็จสิ้นขบวนการเจาะ
7
การหยั่งธรณีในหลุมเจาะถูกนำไปประยุกต์ใช้ในงานวิทยาศาสตร์ต่างๆ มากมาย งานด้านปิโตรเลียมเป็นอีกสาขาหนึ่งที่นำความรู้ทางด้านการหยั่งธรณีในหลุมเจาะไปใช้มาก ตั้งแต่การขั้นตอนการสำรวจ การพัฒนาแหล่ง ไปจนกระทั่งถึงการประเมินผลผลิต
8
ตัวอย่างของการนำผลจากการหยั่งธรณีในหลุมเจาะไปใช้ในงานด้านปิโตรเลียมโดยนักธรณีวิทยาและนักธรณีฟิสิกส์ได้แก่ - การกำหนดชนิด ความลึก และ ความหนา ของชั้นหิน - การหาความสัมพันธ์ระหว่างชั้นหินต่างๆ - การตรวจสอบหาชั้นหินน้ำซึมผ่านได้ - การหาค่าความพรุนและค่าความซึมได้ของชั้นหิน - การหาค่าการอิ่มตัวด้วยน้ำของชั้นหิน
9
- การตรวจสอบสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการกักเก็บสารไฮโดรคาร์บอน
- การตรวจหาหลักฐานการสะสมตัวของสารไฮโดรคาร์บอน - การหาชนิดและปริมาณของสารไฮโดรคาร์บอนในชั้นหินกักเก็บ - การตรวจสอบระดับรอยสัมผัสของ สารไฮโดรคาร์บอน-น้ำ หรือ ก๊าซ-น้ำมัน - เปรียบเทียบผลที่ได้การสำรวจด้วยการหยั่งธรณีในหลุมเจาะกับการสำรวจด้วยคลื่นไหวสะเทือน
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.