งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

“การวิเคราะห์ความผันผวนราคายางพารา”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "“การวิเคราะห์ความผันผวนราคายางพารา”"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 “การวิเคราะห์ความผันผวนราคายางพารา”
อาจารย์ทำไมราคายางพารามันจึงมีขึ้นมีลง ผศ. ดร. ปิติ กันตังกุล ภาควิชาเศรษฐศาสตร์เกษตร และทรัพยากร คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

2 ความนำ ยางพาราเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทย
ราคายางพารามีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา รายได้ของเกษตรกรชาวสวนยางไม่แน่นอน เป็นปัญหาแก่ภาคการเกษตร รัฐบาลต้องใช้เงินงบประมาณแผ่นดินมาแก้ไขปัญหา จำเป็นต้องศึกษาให้เข้าใจถึงความผันผวนของราคายางพาราที่เกษตรกรได้รับ

3 วัตถุประสงค์: ขอบเขตการศึกษา:
เพื่อวิเคราะห์รูปแบบของการเปลี่ยนแปลงราคายางพารา เพื่อระบุปัจจัยที่เป็นสาเหตุของความผันผวนของราคายางพารา ขอบเขตการศึกษา: ราคายางแผ่นดิบชั้น 3 ที่เกษตรกรได้รับ ราคาน้ำยางสดที่เกษตรกรได้รับ ราคาเฉลี่ยรายเดือน ปี 2542 – 2551 และ ม.ค. – ต.ค

4 กรอบแนวคิดและวิธีการศึกษา
ตลาดและราคา (Demand และ Supply) การวิเคราะห์ราคาสินค้าเกษตร (Seasonal, Trend, Volatility) วิธีการศึกษา ข้อมูลทุติยภูมิราคายางพาราและราคาสินค้าที่เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์ความผันผวนของราคาสินค้าเกษตร STDEV LN (PT / PT-1 ) * √12 การวิเคราะห์ปัจจัยที่เป็นสาเหตุของความผันผวนของราคา ใช้การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ (Correlation) และโดยการ Plot กราฟ

5 ข้อมูลราคายางแผ่นดิบที่เกษตรกรได้รับ ปี 2542-45

6 ข้อมูลราคายางแผ่นดิบที่เกษตรกรได้รับ ปี 2546-49

7 ข้อมูลราคายางแผ่นดิบที่เกษตรกรได้รับ ปี 2550-52

8 ข้อมูลราคาเฉลี่ยรายปีที่เกษตรกรได้รับ ปี พ.ศ. 2542-52

9 ข้อมูลราคาน้ำยางดิบที่เกษตรกรได้รับ ปี 2542-45

10 ข้อมูลราคาน้ำยางดิบที่เกษตรกรได้รับ ปี 2546-49

11 ข้อมูลราคาน้ำยางดิบที่เกษตรกรได้รับ ปี 2550-52

12 ข้อมูลราคาเฉลี่ยรายปีที่เกษตรกรได้รับ ปี พ.ศ. 2542-52

13 ผลการศึกษา ความผันผวนของราคายางพาราที่เกษตรกรได้รับ 42 43 44 45 46 47
42 43 44 45 46 47 48 49 50 51 52 ยางแผ่นดิบชั้น 3 42.1 26.6 22.3 32.3 22.6 17.0 21.9 42.4 33.0 65.9 24.1 น้ำยางสด 32.4 25.1 29.3 30.7 26.3 23.2 19.4 46.1 34.1 73.4 34.9

14 สาเหตุของความผันผวนของราคายางพาราที่เกษตรกรไทยได้รับ
ตลาดโลก และสภาวะเศรษฐกิจโลก (ธุรกิจยานยนต์) Derived Demand (D on Final Products = ผลิตภัณฑ์จากยาง เช่น ล้อยางยานยนต์ ท่อยาง เครื่องใช้ และเครื่องมือแพทย์) สินค้าที่ใช้ทดแทนยางพารา = ยางสังเคราะห์ ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลก สถานการณ์ความไม่สงบในแหล่งผลิตน้ำมันดิบ ผลผลิตยางพาราของโลก (Supply)

15

16 ยางแผ่นดิบ ชั้น 3 เกษตรกรได้รับ ยางแผ่นรมควัน ชั้น 3 ส่งออก FOB
ยางแผ่นดิบ ชั้น 3 เกษตรกรได้รับ ยางแผ่นรมควัน ชั้น 3 ส่งออก FOB ราคาล่วงหน้ายางแผ่นรมควัน ชั้น 3 TOCOM ราคาน้ำมันดิบ ราคาน้ำมันดิบล่วงหน้า 1 0.9767 0.9959 0.9791 0.9274 0.8835 0.9168 0.9330 0.8925 0.9237 0.9975

17

18

19 ราคาน้ำยาง เกษตรกรได้รับ
ราคาน้ำยาง เกษตรกรได้รับ ราคาน้ำยาง ส่งออก FOB ราคาน้ำมันดิบ ราคาน้ำมันดิบล่วงหน้า 1 0.9909 0.9208 0.8868 0.9264 0.8973 0.9975

20

21

22 สรุปและข้อเสนอแนะ สรุป ข้อเสนอแนะ
ความไม่แน่นอนด้านราคายางพาราเป็นเรื่องที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ในภาวะที่สถานการณ์ด้านเศรษฐกิจมีความผันผวน และเกิดความไม่สงบหรือสงคราม ราคายางพาราจะเปลี่ยนแปลงอย่างรุนแรง ข้อเสนอแนะ (ทุกระดับ) ต้องมีความตื้นตัว และติดตามข้อมูลข่าวสาร มีการบริหารจัดการที่ดีในทุกระดับ ทั้งในเชิงธุรกิจ และนโยบายรัฐ รัฐบาลต้องหลีกเลี่ยงการใช้เงินงบประมาณเข้าไปแทรกแซงตลาด(ดำเนินการในกรณีที่จำเป็นเท่านั้น) ควรให้กลไกตลาดเป็นตัวกำหนด รัฐควรสร้างกลไกเชิงรุก เช่น ภาคี 3 ประเทศผู้ผลิตยางพารา กองทุนร่วม

23 ขอบคุณ


ดาวน์โหลด ppt “การวิเคราะห์ความผันผวนราคายางพารา”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google