ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม (Social Change)
โดย...ดร.อัจฉรา ปุราคม รายวิชา มนุษย์กับสังคม (Man & Soc) รหัสวิชา
2
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม ถ้าไม่มีการเปลี่ยนแปลง สังคมไม่เกิดการพัฒนา ?
3
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
แนวคิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางสังคม ความหมายของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม สาเหตุและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลง ทางสังคม รูปแบบการเปลี่ยนแปลงทางสังคม แนวโน้มและผลของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
4
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
Refer to Change in the nature, the social institutions, the social behaviour or the social relations of a society community of people, or other social structures.
5
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ความหมาย การเปลี่ยนรูปแบบของโครงสร้างทางสังคม และพฤติกรรมทางสังคม ความสัมพันธ์ทาง สังคม ทั้งทางบวกและลบ
6
องค์ประกอบของโครงสร้างทางสังคม
7
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงทางสังคม การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรม
8
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
สังคมเกษตรกรรม (Agricultural Society) สังคมอุตสาหกรรม (Industrial Society) สังคมหลังอุตสาหกรรม (Post- Modernization Society)
9
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ยุคเกษตรกรรม (Agricultural Age)
10
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
สังคมชนบท
11
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม ครอบครัวขยาย ครอบครัวเดี่ยว
ครอบครัวขยาย ครอบครัวเดี่ยว
12
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
การผลิตแบบยังชีพ
13
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ระบบเจ้าขุนมูลนาย/ศักดินา ความเท่าเทียมกัน
14
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
ยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม (Industrial Revolution)
15
สังคมทันสมัย (Modernization Society)
การทำให้เป็นเมือง (Urbanization) การทำให้เป็นอุตสาหกรรม (Industrialization) การแข่งขันทางการค้า-ธุรกิจ (Competition) การนำคนเข้าสู่กระบวนการผลิต (Production)
16
ภาวะความทันสมัย (Modernization)
หมายถึงกระบวนการเปลี่ยนแปลงสังคม ซึ่งประเทศหรือสังคมที่มีความเจริญด้อยกว่าพยายามพัฒนาให้สังคมของตนเองมีลักษณะ ( Characteristics ) เหมือนกับสังคมที่พัฒนาแล้ว
17
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
สังคมเมือง (Urban society)
18
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
การผลิตแบบยังชีพ การค้าขาย/ส่งออก
19
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
เทคโนโลยีสารสนเทศ
20
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
การบริโภค
21
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
การแต่งกาย
22
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม กระบวนการโลกาภิวัตน์ (Globalization)
หลังปี พ.ศ.2533-ปัจจุบัน ประชาธิปไตยแบบเสรีนิยม (Liberal Democracy) เศรษฐกิจทุนนิยม (Capitalism) เศรษฐกิจแบบเสรีนิยม (Liberalism) การบริโภคนิยม (Consumerism) กระบวนการโลกาภิวัตน์ (Globalization)
23
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม กระบวนการโลกาภิวัตน์ (Globalization)
เศรษฐกิจสังคมนิยม (Socialism) ลัทธิชาตินิยม (Nationalism) คอมมิวนิสต์ (Communism) กระบวนการโลกาภิวัตน์ (Globalization)
24
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
สังคมหลังทันสมัย (Post modern society)
25
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
สังคมหลังทันสมัย (Post modern society) ตัวอย่างเช่น วาทกรรมการพัฒนา กับ การด้อย พัฒนา เป็นการมองแบบคู่ตรงข้าม ซึ่งใน รูปแบบใหม่ วาทกรรมของการพัฒนาจึงเป็น เรื่องของการปิดพื้นที่ต่อสู้ ช่วงชิงอำนาจในอีก รูปแบบใหม่
26
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
1.สภาพแวดล้อมธรรมชาติและประชากร 2. การพัฒนาเศรษฐกิจ 3.ทัศนคติ/ความเชื่อของคนในสังคม 4.การเคลื่อนไหวทางสังคม 5. กระบวนการทางวัฒนธรรม 6. การประดิษฐ์ คิดค้นใหม่ ๆ
27
รูปแบบการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
1. การเปลี่ยนแปลงแบบเส้นตรง ( linear model ) ปัจจัยที่ทำให้สังคมมีการพัฒนามีขนาดใหญ่ขึ้น เกิดจากปัจจัยภายในของสังคมนั้นเอง การรวมกันของระบบสังคมย่อยให้กลายเป็นระบบสังคมขนาดใหญ่ ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพของสังคม (organic ) และองค์ความรู้ความคิดภายในสังคมนั้นด้วย ( Superoganic ) – เฮอร์เบิร์ต สเปนเซอร์
28
รูปแบบการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
2. การเปลี่ยนแปลงแบบเป็นวัฎจักร การเปลี่ยนแปลงทางสังคมที่ไม่ความสม่ำเสมอ สังคมจะมีจุดเริ่มต้น และจะเจริญก้าวหน้าไปเรื่อย ๆ จนถึงจุดเสื่อมสลาย 3. การเปลี่ยนแปลงแบบไม่เป็นเส้นตรง
29
แนวโน้มของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
สังคมหลังอุตสาหกรรม (Post-industrial society) ระบบเศรษฐกิจให้ความสำคัญกับระบบบริการ แรงงานในการผลิตใช้ระบบคอมพิวเตอร์ ระดับผู้ใช้แรงงาน (Blue collar) มีจำนวนลดลง ระบบแรงงานชั้นกลาง (White collar) จะมากขึ้น
30
ผลของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
31
“ ไม่มีนักบุกเบิก. ก็ไม่มีทางเดินสำหรับคนรุ่นต่อไป ไม่มีผู้แสวงหา
“ ไม่มีนักบุกเบิก... ก็ไม่มีทางเดินสำหรับคนรุ่นต่อไป ไม่มีผู้แสวงหา...การเดินทางก็เป็นแค่ตำนาน” ...ดร.อัจฉรา ปุราคม
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.