ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
02739211 Principles of Programming
อาร์เรย์ (Arrays) Principles of Programming
2
02739211 Principles of Programming
หัวข้อ ตัวแปรอาร์เรย์ อาร์เรย์หนึ่งมิติ (One Dimension Arrays) อาร์เรย์สองมิติ (Two Dimension Arrays) Principles of Programming
3
02739211 Principles of Programming
อาร์เรย์ 2 มิติ มีลักษณะเหมือนเมตริกซ์ ประกอบด้วยแถวและคอลัมน์ การอ้างอิงชื่ออาร์เรย์ จะรู้ตำแหน่งที่อยู่ที่ใช้จัดเก็บอิลิเมนท์ตัวแรก การอ้างอิงค่าตัวแปรภายในอาร์เรย์จะใช้ Subscript หรืออาจเรียกว่า Index เช่น data[2][3] เป็นการอ้างถึงตัวแปร data ในตู้หน่วยความจำแถวที่ 2 คอลัมน์ที่ 3 (ตู้แรกแถวที่ 0 คอลัมน์ที่ 0) Principles of Programming
4
การประกาศตัวแปรอาร์เรย์สองมิติ
รูปแบบ ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร[จำนวนแถว] [จำนวนคอลัมน์]; จำนวนแถวและคอลัมน์ เป็นจำนวนเต็มบวก อาจเป็นค่าคงที่หรือ นิพจน์ทางคณิตศาสตร์ เช่น int data[4] [5]; ประกาศตัวแปรอาร์เรย์2มิติชนิดจำนวนเต็มชื่อ data ให้มี แถว คอลัมน์ มี subscript จาก [ ][ ] ถึง [ ][ ] ได้แก่ data[ ][ ] data[ ][ ] … data[ ][ ] Principles of Programming
5
ตู้หน่วยความจำของอาร์เรย์ data[4][5]
… data[3][0] data[3][1] data[3][2] data[3][3] data[3][4] Row 0 Row 3 Principles of Programming
6
ตัวอย่างการประกาศตัวแปรอาร์เรย์สองมิติ
main() { int size = 3; int number[2][3]; float score[size+2][size-1]; … } Principles of Programming
7
ตัวอย่างการใช้ตัวแปรอาร์เรย์สองมิติ
เขียนโปรแกรมเพื่อรับค่าคะแนน 3 วิชาของนักศึกษา 5 คนมาเก็บไว้ในอาร์เรย์สองมิติ 5 แถว 3 คอลัมน์ หาผลรวมคะแนน พิมพ์รายงานออกหน้าจอ Principles of Programming
8
ตัวอย่างการใช้ตัวแปรอาร์เรย์สองมิติ
main() { int i,j,total=0; int sc[5][3]; printf(“\nInput score of Math, Science and Physics\n\n”); for(i=0;i <5 ;i++) { printf(“Student # %2d :: ”,i+1); scanf(“%d %d %d”,&sc[i][0],&sc[i][1],&sc[i][2]); } printf(“\n\nSeq.\tMath \tSCI \tPhy \tTotal\n”); Printf(“**************************************\n”); for(j=0;j<5;j++) { total = sc[j][0]+sc[j][1]+sc[j][2]; printf(“%2d\t %2d \t %2d \t %2d \t%2d\n”,j+1,sc[j][0], sc[j][1], sc[j][2],total); } printf(“\n”); getch();} Principles of Programming
9
การกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปรอาร์เรย์สองมิติ
ชนิดข้อมูล ชื่อตัวแปร[ ][ ] = { {r0c0,r0c1,r0c2,…,r0cn}, {r1c0,r1c1,r1c2,…,r1cn}, {…}, {rmc0,rmc1,rmc2,…,rmcn}}; Principles of Programming
10
การกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปรอาร์เรย์สองมิติ
เช่น char vowel [2][5] = {{ ‘a’, ‘e’, ‘i’, ‘o’, ‘u’}, { ‘A’, ‘E’, ‘I’, ‘O’, ‘U’}}; เป็นการกำหนดตัวแปร array ของอักขระ (char) ชื่อ vowel ให้มี 2 แถว 5 คอลัมน์ พร้อมกับกำหนดค่าเริ่มต้นให้เป็น a, e, i, o, u ,A,E,I,O,U ตามลำดับ Principles of Programming
11
การกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปรอาร์เรย์สองมิติ
vowel[0][0] vowel[0][1] vowel[0][2] vowel[0][3] vowel[0][4] vowel[1][0] vowel[1][1] vowel[1][2] vowel[1][3] vowel[1][4] Principles of Programming
12
ตัวอย่างการกำหนดค่าเริ่มต้นตัวแปรอาร์เรย์
เขียนโปรแกรมเพื่อกำหนดค่าเริ่มต้นให้กับอาร์เรย์จำนวนเต็มบวกสองมิติ 4 แถว 5 คอลัมน์ พิมพ์ค่าทั้งหมดออกหน้าจอตามลำดับ Principles of Programming
13
ตัวอย่างการกำหนดค่าเริ่มต้นตัวแปรอาร์เรย์
main() { int i,j; int c[4][5] = { {1,2,3,4,5}, {6,7,8,9,10}, {11,12,13,14,15}, {16,17,18,19,20} }; printf(“ Col-0 Col-1 Col-2 Col-3 Col-4\n"); printf(“ \n"); for(i=0;i <4 ;i++) { printf(“\nRow-%d : ”,i); for(j=0;j<5;j++) printf(“\t%2d”,c[i][j]); } printf(“\n”); getch();} ผลลัพธ์ Principles of Programming
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.