ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
นริศ ภูมิภาคพันธ์ ชวลิต วิทยานนท์
แหล่งการแพร่กระจายของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ในที่ราบลุ่มภาคกลางจากหลักฐานซากดึกดำบรรพ์ ยุคควอเทอร์นารี นริศ ภูมิภาคพันธ์ ชวลิต วิทยานนท์
2
วัตถุประสงค์ เพื่อพิสูจน์ทราบชนิดสัตว์ป่าเลี้ยงลูกด้วยนมในยุคควอเทอร์นารี จากซากดึกดำบรรพ์ และตำแหน่งที่พบ เพื่อรวมรวมตัวอย่างเอกสาร และบันทึกประวัติศาสตร์ที่เกี่ยวข้อง รวบรวมหลักฐานในการอธิบายสภาพพื้นที่ที่ราบภาคกลางและการเปลี่ยนแปลงที่กระทบต่อการปรากฏ และการแพร่กระจายสัตว์ป่าเลี้ยงลูกด้วยนม
3
การเปลี่ยนแปลงของแผ่นดินซุนดา
และการกระจายของสัตว์ป่ากลุ่ม Sinomalaya
4
แหล่งที่มีรายงานการพบ
แหล่งที่พบซาก
5
กิจกรรมที่ทำให้เราพบซากสัตว์
กิจกรรมการดูดทรายจากแม่น้ำ การเปิดหน้าดินเพื่อการก่อสร้างในระดับต่างๆ การขุดดินเพื่อขายหน้าดิน และสร้างอ่างเก็บน้ำ การดำน้ำงมหาวัตถุสิ่งของจากแม่น้ำ ลำคลอง
6
การงมหาโบราณวัตถุสิ่งของในแม่น้ำ และลำคลอง
บ้านบางกระแชง อ. เสนา จ. อยุธยา
7
วิธีการศึกษา การตรวจสอบแหล่งที่มา และหลักฐานสิ่งแวดล้อม
การจำแนกตำแหน่งชิ้นส่วน และชนิด การประเมินอายุ (Dating)
8
การเทียบเคียงตัวอย่าง
9
Stegodon ganesa
10
เปรียบเทียบฟัน Stegodon และ Elephas
Elephas maximus
11
การปรากฏของแผ่นดิน Sundaland
เมื่อระดับน้ำทะเลลดลง เมตร จากระดับปัจจุบัน
12
การเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำทะเลช่วง อนุยุคน้ำแข็ง (Pleistocene) ช่วงสุดท้าย
13
การเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำทะเลในยุคน้ำแข็งสุดท้าย
ระยะเวลาย้อน จากปัจจุบัน (ปี) ระดับน้ำทะเลของ Eperic Sea ระดับน้ำทะเลที่เปลี่ยนแปลงจากปัจจุบัน ช่วงระยะ เวลา (ปี) 18,000 ลดลง -85 – เมตร 6,000 12,000 เพิ่มขึ้น 2 – 4 เมตร 2,000 10,000 2 – 10 เมตร 1,500 8,500 8 – 15 เมตร 2,500 4 เมตร 1,000 4,700 -2 เมตร 2,700 เพิ่มขึ้นครั้งสุดท้าย 2 เมตร 1,200 ระดับปัจจุบัน 0 เมตร
14
การเปลี่ยนแปลงของระดับน้ำทะเล (เมตร)
15
Hippopotamus cf. sivalensis พบที่ จ. นครสวรรค์
Hippopotamus iravaticus จากพม่า
16
บริเวณภาคกลางเมื่อ 5,500 ปี ที่ผ่านมา
17
หลักฐานยืนยันว่าภาคกลางเคยเป็นทะเลเมื่อ 5,500 ปีมาแล้ว
หลักฐานยืนยันว่าภาคกลางเคยเป็นทะเลเมื่อ 5,500 ปีมาแล้ว วัดเจดีย์หอย อ.ลาดหลุมแก้ว จ.ปทุมธานี Crassostrea gigas พบที่ระดับความลึก 2-4 เมตร
18
หลักฐานทางโบราณวัตถุ และซากสัตว์
อ.โคกสำโรง จ.ลพบุรี เขาวัวแดง
19
การกระจายของสัตว์ป่าปัจจุบัน
20
ซากวัวป่าจาก จ.อุทัยธานี
21
ช้าง (Elephas maximus)
อ. ท่าหลวง จ.ลพบุรี อ. นครหลวง จ.อยุธยา อ. ลาดหลุมแก้ว จ. ปทุมธานี อ. ไทรน้อย จ. นนทบุรี
22
การคล้องช้างป่าที่เพนียดหลวง ปี พ.ศ. 2446
23
หมูป่า
24
กวางป่า
25
เสือโคร่ง
26
Bubalus bubalis Bos sp.
27
ควายป่า Bubalus bubalis Bubalus sp.
30
วิวัฒนาการของเนื้อสมันในการเข้าใช้ ถิ่นนิเวศทุ่งหญ้าเกิดใหม่ในช่วง Pleistocene
หาดสองแคว แก่งคอย ปี 2440
31
ชิ้นส่วนเขาเนื้อสมันจาก อ.ไทรน้อย จ. นนทบุรี
33
กระโหลกเนื้อสมันเพศเมีย
34
แหล่งที่เคยมีรายงานพบสัตว์ป่า และแหล่งที่พบซาก
แหล่งที่มีรายงานการพบ แหล่งที่พบซากที่กล่าวถึงในครั้งนี้
35
สรุป มีซากดึกดำบรรพ์ และซากในลักษณะต่างๆ ที่พบอย่างน้อย 17 ชนิด
จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ และหลักฐานทางวิทยาศาสตร์อื่นๆ สะท้อนให้เห็นว่าบริเวณที่ราบภาคกลางเคยเป็นแหล่งสัตว์ป่าที่สำคัญของประเทศ การเปลี่ยนแปลงในเชิงพื้นที่เกี่ยวข้องกับวิวัฒนาการ การแพร่กระจาย การปรากฏ และไม่ปรากฏของชนิดสัตว์ป่า การเปลี่ยนแปลงพื้นที่ในยุคปัจจุบันในรอบ 200 ปี ทำให้สัตว์ป่าสูญพันธุ์ หรือหมดไปจากบริเวณนี้
36
ข้อเสนอแนะ การตรวจสอบชนิด และหลักฐานสิ่งแวดล้อม การทราบตำแหน่งที่พบ
การตรวจสอบอายุ (Dating) การเก็บรักษาเป็นหลักฐานอ้างอิง และเป็นสมบัติของชาติ
37
การเปลี่ยนแปลงที่ไม่หวนกลับคืน
เราไม่สามารถทำให้ระบบนิเวศของที่ราบภาคกลางกลับไปเหมือนเมื่อ 200 ปีที่ผ่านมา แต่เราสามารถใช้บทเรียนนี้ในการรักษาพื้นที่ธรรมชาติ และสัตว์ป่าที่เหลืออยู่ให้รอดพ้นจากการเปลี่ยนแปลงโดยมนุษย์ ถ้ามีความตั้งใจจริง สังคมไทยเราสร้างจิตสำนึกเรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ และสัตว์ป่าได้ผลจริงหรือไม่ ?
38
สวัสดี
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.