งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Data Structure โครงสร้างข้อมูล.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Data Structure โครงสร้างข้อมูล."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Data Structure โครงสร้างข้อมูล

2 โครงสร้างข้อมูล เป็นวิธีจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถนำมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การใช้งานโครงสร้างข้อมูล ต้องมีขั้นตอนวิธีที่เหมาะสม จึงจะสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ การออกแบบโครงสร้างข้อมูลที่ดีจะช่วยลดเวลาในการกระทำการและลดการใช้งานในพื้นที่ความจำด้วย

3 การจัดเก็บข้อมูล เป็นการนำข้อมูลที่มีอยู่เข้าไปเก็บในเครื่องคอมพิวเตอร์ อาทิ ประวัติส่วนตัว สินค้าคงคลัง การขาย การเงิน บุคลากร เป็นต้น

4 สมมติมีข้อมูลจำนวนหนึ่งประกอบด้วยชื่อ ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์
หากต้องการเขียนโปรแกรมเพื่อจัดการกับข้อมูลเหล่านี้ จะต้องพิจารณาสิ่งต่างๆ -วิธีการจัดเก็บลงในหน่วยความจำ วิธีการดังกล่าวสามารถใช้ได้กับข้อมูลปริมาณมากเพียงใด สามารถเพิ่มข้อมูลใหม่ ลบข้อมูลเก่าได้อย่างรวดเร็วหรือไม่ สามารถค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้เร็วเพียงใด ถ้าต้องการจัดข้อมูลให้เรียงตามตัวอักษร จะใช้วิธีใด

5 หน่วยของข้อมูล บิต (bit) อักขระ (character) เขต (field)
ระเบียน (record) แฟ้ม (file) ฐานข้อมูล (database)

6 แฟ้มข้อมูล (Data file)
เขต (Field) ระเบียน (Record)

7 ระเบียนนักเรียน เลขประจำตัว (8) ระดับคะแนนเฉลี่ย (4) ชื่อ(10)
สกุล (15) หน่วยกิตสะสม (3)

8 ระเบียนสินค้า จำนวนคงเหลือ (4) รหัสสินค้า (4) ชื่อสินค้า(20) ราคา (5)

9 บิต อักขระ เขต

10 เขต (field) ระเบียน (Record) แฟ้ม (file)

11 ฐานข้อมูล (Database)

12 แฟ้ม (File) แฟ้มเป็นที่รวบรวมข้อมูล หรือข่าวสารต่างๆ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ใช้กระทำการ โดยจะต้องมีการกำหนดชื่อให้แฟ้ม เพื่อให้สามารถเรียกใช้ได้

13 แฟ้มข้อมูล (Data files)
ประกอบด้วยข้อมูล ได้แก่ ตัวอักษร ข้อความ ตัวเลข รูปภาพ เสียง

14

15 ฐานข้อมูล เป็นการเก็บข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน
ประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลหลายแฟ้มที่มีข้อมูลที่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ช่วยลดปัญหาของความซ้ำซ้อนของข้อมูล สามารถใช้ร่วมกันได้หลายคนและหลายหน่วยงานได้ สามารถหลีกเลี่ยงความขัดแย้งกันของข้อมูลได้ในระดับหนึ่ง สามารถควบคุมความถูกต้องของข้อมูล สามารถควบคุมและรักษาความปลอดภัยของข้อมูลได้

16 ประเภทโครงสร้างข้อมูล
พื้นฐาน (Base data structures) Primitive เชิงเส้น (Linear data structures) Array List ไม่เป็นเส้นตรง (Non Linear data structures) Graph Tree

17 โครงสร้างข้อมูลพื้นฐาน (Base Data Structures)
ได้แก่ จำนวนเต็ม …-3, -2,-1, 0, 1, 2, 3 จำนวนจริงที่มีทศนิยม , x 100 บูล มีค่าเป็น จริง หรือ เท็จ true, false อักขระ A, a, +, &, #, %, …. สายอักขระ I am lazy

18 ระเบียนนิสิต ระดับคะแนนเฉลี่ย (4) เลขประจำตัว (10) ชื่อ(10) สกุล (15)
จำนวนจริง สายอักขระ ระดับคะแนนเฉลี่ย (4) เลขประจำตัว (10) ชื่อ(10) สกุล (15) หน่วยกิตสะสม (3) สายอักขระ สายอักขระ เพศ(1) จำนวนเต็ม อักขระ

19 ระเบียนนิสิต ระดับคะแนนเฉลี่ย (4) เลขประจำตัว (10) ชื่อ(10) สกุล (15)
จำนวนจริง สายอักขระ ระดับคะแนนเฉลี่ย (4) เลขประจำตัว (10) สันติภาพ เอกธำรงกุล M 2.65 108 ชื่อ(10) สกุล (15) หน่วยกิตสะสม (3) สายอักขระ สายอักขระ เพศ(1) จำนวนเต็ม อักขระ

20 ระเบียนนิสิต รหัสประจำตัว ภาคการศึกษา รหัสวิชา Foundatin English III
Calculus III รหัสวิชา Intro to computer รหัสประจำตัว 254 ภาคการศึกษา รหัสวิชา Badminton รหัสวิชา General Philosophy

21 รหัสประจำตัว get Intro_computer get grade-com get Philosophy
get grade-philo get English get grade-eng get Badminton get grade-bad get Calculus get grade-calculus …. รหัสประจำตัว Grade-com Grade-calculus 254 2.5 3.0 1.5 4.0 2.0 ภาคการศึกษา

22 แถวลำดับ (ARRAY) รหัสประจำตัว รหัสประจำตัว ภาคการศึกษา … ภาคการศึกษา
รหัสวิชา1 รหัสวิชา2 รหัสวิชา3 รหัสวิชา4 รหัสวิชา5 254 ภาคการศึกษา รหัสประจำตัว Grade[1] Grade[5] 254 2.5 3.0 1.5 4.0 2.0 ภาคการศึกษา

23 n = 5 i = 1 while (i <= n) get Subject[i] get Grade[i] i = i + 1 calculate …

24 แถวคอย เป็นภาชนะใส่วัตถุชนิดหนึ่ง
โดยจะใส่วัตถุลงไปในแถวคอย และนำวัตถุออกจากแถวคอย โดยใช้หลักการ first-in-first-out (FIFO) การใส่วัตถุลงไปในแถวคอย จะใส่เมื่อใดก็ได้ โดยวัตถุจะเรียงต่อกันตามลำดับที่ใส่ วัตถุที่ใส่เข้าไปจะอยู่หลังสุด (rear) ของแถวคอย การนำวัตถุออกจากแถวคอย จะทำได้เฉพาะวัตถุที่อยู่ข้างหน้าสุด(front)เท่านั้น

25 QUEUE FIFO : First In First Out

26 รับบริการ

27 แถวคอย Front 254 2.5 3.0 1.5 4.0 2.0 154 3.5 1.0 253 153 252 152 Rear

28 โครงสร้างข้อมูลเชิงเส้น (Linear data structures)
แถวลำดับ (Arrays) กองซ้อน (Stacks) แถวคอย (Queues) รายการโยง (Linked Lists)

29 แถวลำดับ 1 2 3 4 50 10 20 30 40 รายการโยง 10 20 30 40

30 กองซ้อน (Stacks) LIFO : Last In First Out

31 กองซ้อน เป็นโครงสร้างข้อมูลที่ใช้สำหรับ
- แทรกวัตถุลงบนกอง (ถ้าไม่ล้น) push - ลบวัตถุออกจากกอง (ถ้าไม่ว่าง) pop โดยจะต้องกระทำที่ด้านบนสุดของกองซ้อนเสมอ

32 Push Pop Push Q onto empty stack Push A onto stack
Pop a box from stack Q Pop Pop a box from stack empty Q Push R onto stack R D Push D onto stack M Push M onto stack Pop a box from stack D M Q Push Q onto stack S Push S onto stack

33 เก็บ address ของ site ที่ได้เข้าชมไว้ (pop) จากนั้นเมื่อต้องการย้อนกลับ ให้กดปุ่ม Back จะได้ site ล่าสุด (push)

34 ขณะนี้อยู่ที่ www.chula.ac.th ถ้ากด back จะไปที่ใด www.glo.or.th
ขณะนี้อยู่ที่ ถ้ากด back จะไปที่ใด

35 กองซ้อน Top 254 2.5 3.0 1.5 4.0 2.0 154 3.5 1.0 253 153 252 152

36 การจดจำ Palindromes String : abcde a b c d e Queue : e d Stack c b a
Front Rear e d c b a Top Stack


ดาวน์โหลด ppt Data Structure โครงสร้างข้อมูล.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google