ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยThiti Prugsanapan ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
2
หัวข้อที่จะกล่าวถึง eLearning คืออะไร ทำไมต้อง eLearning
เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง การจัดการความรอบรู้ กระบวนการและการดำเนินการ แนวคิดและหลักการ ความสำเร็จและปัญหาที่เกี่ยวข้อง แนวโน้มที่สำคัญ และการรองรับการเปลี่ยนแปลง
3
แนวโน้มเศรษฐกิจโลก การเจริญเติบโตของเทคโนโลยี ICT
(new economy, digital economy, internet economy) การเจริญเติบโตของเทคโนโลยี ICT แรงขับดันจากเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สังคมดิจิตอล และ digital device ทำให้เกิดความกังวลในเรื่องความแตกต่าง ทางด้านการใช้ข่าวสาร การทำงานร่วมกัน เพื่อผลประโยชน์ร่วมกัน (รูปแบบการทำงานในทุกองค์กร c-Learning (Collaboration Learning Model)) การเติบโตของ Web Technology, EDI และการใช้ประโยชน์จาก Web Service ทำให้การทำงานแบบ Virtual
4
สังคมสมัยใหม่ รู้จักกับ Virtual World
(สังคม Cyberspace กับนักเรียนไทยยุคปัจจุบัน)
8
มีอะไรเปลี่ยนแปลงบ้าง ?
ผู้เรียนมีความสำคัญสูงสุดในสมการของการเรียนรู้ เทคโนโลยีไอซีทีเพื่อการศึกษา. มีบทบาทต่อกระบวนการของการเรียนรู้ การออกแบบวิธีการ เรียนรู้ที่ดี การเรียนรู้ ที่ได้ผล
9
พัฒนาการเกี่ยวกับการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
พลังขับเคลื่อนด้วย WWW & Internet, และ ระบบweb-based รวมถึงระบบ Learning Management Systems (LMS). ใช้ซอฟต์แวร์ภาษาคอมช่วยเขียน CAI. Based on CETIS “Learning Technology Standards: An Overview” Jan The phrase “learning standards” is one of the most powerful and most misunderstood aspects of the e-Learning revolution. As organizations make significant investments in digital learning content, there is a strong desire to have greater assurances, portability, and re-usability. As organizations focus on providing learners with the “just right” content and activities, there is a strong desire to have the ability to more easily store, search, index, deploy, assemble, and revise content. All of these hopes are part of the story of “learning standards”. การใช้เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ในระบบช่วย การเรียนการสอนเช่น Plato
10
แต่การเรียนการสอนได้เปลี่ยนไป
แบบดั้งเดิม: เรียนจากตำรา รับรู้แบบเฉื่อยเฉย ต่างคนต่างเรียน สอนไปวันๆ เนื้อหาเหมือนเดิม การเรียนใช้ทรัพยากรช่วย: เรียนแบบactive เรียนคนเดียวและทีม การสอนแบบรุกเร้าขึ้น เปลี่ยนเนื้อหาเร็ว ประยุกต์เทคโนโลยี: ใช้เครือข่าย คอมพิวเตอร์ มัลติมีเดีย จำลองสถานการณ์ สร้างเนื้อหาดิจิตอล เข้าถึงเครือข่ายได้ง่าย มีเครื่องมือช่วยมาก
11
การเรียนรู้ให้ผู้เรียนเป็นสำคัญ
12
ออกแบบโครงการ การทดลองที่เชื่อมต่อโดยใช้กล่องสมองกล
13
(Knowledge Construction) (Learning Management)
องค์ประกอบของ e-Learning องค์ความรู้ + กระบวนการเรียนรู้ + การจัดการ (Knowledge) (Learning) (Management) การสร้างความรู้ (Knowledge Construction) กระบวนการเรียนรู้ (Learning Process) การจัดการการเรียนรู้ (Learning Management)
14
e-Learning ความหมายที่ยังสับสน
webcasts CBT webinairs TBT LMS Blended learning None WBT demand
15
การจัดการเกี่ยวกับ e-Learning Management
Electronic = Electronic + Learning ต้องเน้นกระบวนการเรียนรู้เป็นสำคัญ เป็นการเรียนโดยใช้ไอซีทีช่วย มีกระบวนการที่ใช้เครื่องมือไอซีที ไอซีทีมีความสำคัญที่ทำให้เกิดกระบวนการเรียนรู้
16
ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับ e-Learning
คิดว่าสร้าง Webpage คิดว่าสร้าง electronic book คิดว่าใช้อินเทอร์เน็ตเรียกข้อมูลเนื้อหาวิชา
17
ความท้าทายของ e-Learning
บริหารและจัดการเนื้อหาได้ง่าย: ตรวจสอบ การใช้เนื้อหา ปรับปรุงแก้ไข. สร้างเนื้อหาเพื่อใช้งานได้ง่ายขึ้น: “สร้างครั้งเดียวใช้ได้หลายครั้ง” การเรียนรู้ได้ง่าย เร็ว และกว้างขวาง ประหยัดค่าใช้จ่ายโดยรวม มีระบบเฉพาะของตัวเอง ขนส่ง แลกเปลี่ยนได้ง่าย CETIS Web Site. Learning Technologies have been evolving over the last two or three decades, and have gone through many phases and approaches, including early mainframe based programmed learning systems, microcomputer software packages written in native programing languages for specific machines, bulletin boards, CBT systems, authoring systems, and more recently after the internet explosion, web-based systems and Learning Management Systems. For much of this time, learning software development has often been the result of individual ideas and initiative, and little regard has been paid to ensuring that learning software can survive the rapid change in technology. Those who wrote high quality learning materials for BBC micros now find them trapped on floppy disks that cannot be read by modern PCs, and even of they could, the software on them would not run. Further, unlike the well elaborated ways we have for categorising and describing text that libraries have evolved, no such system exists for computer based learning materials. This has made the learning content world somewhat chaotic, and many excellent materials are underused for one or both of the above reasons. Other aspects of technology application suffer similarly from a lack of interoperability. Student records are stored in proprietary formats by different record systems, making it difficult or impossible to transfer them between different suppliers' systems, and hindering student movement between institutions. This is equally true for student lists, course descriptions and other administrative information. The growth of the internet, followed by the use of intranets, groupware and learning environments, has highlighted this problem. People want to find content easily wherever it might be on the internet, and incorporate it into their courses; learners want to move between institutions taking their learning records with them; and teachers using eLearning systems want to have good information support from administrative systems. In fact, achiveing these is key to the realisation of Life Long Learning and a global education marketplace. Maise Report: Why should an organization care about the emergence and convergence of learning standards? The answer boils down to the organization protecting and increasing the return on its investment in the learning technologies it purchases and in the learning content and services it develops. e-Learning
18
e -Learning คืออะไร e -Learning เป็นกระบวนการศึกษา การเรียน โดยมีการใช้เทคโนโลยีไอซีทีเข้าช่วย ขนส่งข้อมูล ข่าวสาร และความรู้ นำเสนอ แสดง และสื่อให้เข้าใจ สื่อสาร ติดต่อ โต้ตอบระหว่างกัน ทำงาน เรียนรู้ ร่วมกันแบบ collaboration เข้าถึงแหล่งความรู้ได้ง่าย รวดเร็ว ทั่วไทย ทันเวลา ตลอดกาล ค้นหาแหล่งความรู้ และใช้ประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ แบบต่าง ๆ มีหลากหลายรูปแบบ หลายโมเดล
19
e-Learning จึงเกี่ยวข้องกับ
กระบวนการเรียนรู้โดยใช้เครื่องมือที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีช่วย กระบวนการจัดการการเรียนรู้ที่ใช้เครือมือช่วย การเรียนรู้ผ่านเครื่องมือสมัยใหม่ e-Learning จึงเกี่ยวข้องกับ กระบวนการสร้างความรู้ (knowledge construction) กระบวนการเรียนรู้และวิธีการเรียนรู้ กระบวนการจัดการ (Learning Management)
20
eLearning เป็นการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ เข้าสู่กระบวนการเรียนรู้ ทำให้เรียนรู้ได้มาก ทำให้เรียนรู้ได้เร็ว ทำให้ต้นทุนการเรียนรู้ต่ำ ทำให้การเรียนรู้เกิดขึ้นได้ง่าย ทุกที่ทุกเวลา ทั่วไทย และใครก็ได้
21
การสร้างความรู้ (knowledge construction)
eLearning เกี่ยวข้องกับ การสร้างความรู้ (knowledge construction) การสร้างความรู้ คือ การนำเอา ความรู้ประกอบเป็นโมเดล ที่สามารถเข้าขบวนการ Infer, Transfer ผ่านระบบ Transport ไปยังผู้เรียน และสามารถสู่โมเดล ของการรับรู้ และเรียนรู้ได้ง่าย
22
e-Learning ไอที ทำให้การแทนความรู้ ในรูปสื่อต่าง ๆได้ง่าย
มีมัลติมีเดียแทนความหมาย ทั้งที่เป็นข้อความ ภาพ เสียง วิดีโอ และสามารถประกอบ การโต้ตอบ ปรับสภาพ เปลี่ยนสถานะ ตามความเหมาะสมของผู้เรียน
23
e-Learning ไอทีสามารถขนส่งความรู้ ที่อยู่ในรูปโมเดล การแทนด้วยอิเล็กทรอนิกส์ไปยังทุกหน ทุกแห่ง ด้วยความเร็วแสง ไอทีทำให้การเข้าถึงของผู้เรียน กระทำได้ง่าย สร้างบรรยากาศสมจริง และกระตุ้นใฝ่ที่จะเรียนรู้ได้อย่างเต็มที่
24
eLearning เกี่ยวพันกับวิธีการสร้างความรู้
โมเดลความรู้ เป็นการเชื่อมโยงจาก สิ่งที่รู้แล้ว เช่น primitive knowledge ไปหาความรู้ใหม่ และเชื่อมโยงต่อให้เกิด องค์ความรู้ที่เพิ่มขึ้น การสร้างความรู้ จากการเชื่อมโยง แหล่งความรู้ต่าง ๆ กระทำได้ดี มีการใช้สื่อ แทนได้ดี
25
ความรู้และการสร้างความรู้
ความรู้คืออะไร ? เราเรียกใช้ความรู้ได้อย่างไร? ปัญหาการบริหารและจัดการความรู้
26
โมเดลการบริหารจัดการสร้างความรู้
กฏเกณฑ์ หรือเงื่อนไข ครู ขยายการ ถ่ายทอดความรู้ ฐานความรู้ ยูสเซอร์ อินเทอร์เฟส เครื่องมือช่วย สร้างความรู้ เครื่องมือ ช่วยเรียกค้น ผู้เรียน ผู้ใช้
27
โครงสร้างการพัฒนาระบบ eLearning
เนื้อหาที่มี อยู่แล้ว สร้าง เครื่องมือที่ใช้พัฒนา ออกแบบ ต้องการนำมาใช้ คาตาลอก Find LMS ขนส่ง ติดตาม ขนส่ง
28
การสร้างฐานความรู้สารานุกรม
ด้วยการเชื่อมโยง Knowledge Object Encata.encycolpedia
29
แนวทางในการบริหารจัดการสร้างความรู้
สร้างความรู้สำหรับ e-Learning กำหนดเป้าหมาย เก็บรวบรวมข้อมูล ศึกษาเพื่อหาเนื้อหาที่นำมาใช้สร้าง สร้างความคิด การพัฒนาบทเรียน การผลิตเนื้อหา การทดลองใช้และประเมินผล มีประสิทธิภาพ ต้นทุนต่ำ
30
การบริหารจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
31
การบริหารจัดการสร้างเนื้อหาตามแนวคิด knowledge construction
สร้างรูปแบบความรู้จากสิ่งที่รู้แล้วไปสู่สิ่งที่ไม่รู้ มีความสมดุลย์เหมาะสมระหว่างการเรียนรู้ได้ แบบอนุมาน(deductive) และ อุปมาน (inductive) สามารถสร้างความคิดเพื่อหาข้อสรุป สร้างระบบเนื้อหาโดยการเน้นจากการลองของ ผู้เรียน การสร้างทักษะเพื่อแสวงหาความรู้และศึกษาได้ ด้วยตนเอง
32
บทบาทของครูกับการบริหารจัดการสร้างความรู้
ครูต้องเปลี่ยนจากการ “สอน” มาเป็น การสร้างความรอบรู้และดูแลจัดการ กับระบบการเรียนรู้สมัยใหม่ในรูปของ e-Learning ให้มากขึ้น ครูต้องเข้าใจโมเดลต่างๆของ e-Learning
33
โมเดลของเว็บเพ็จเสมือนการเชื่อมโยงของความรู้
35
โมเดลซิงโครนัส
36
โมเดลอะซิงโครนัส
37
จะบริหารจัดการมหาวิทยาลัยเข้าสู่ e-University
เครือข่ายและเทคโนโลยีไอที? ประชาคมในมหาวิทยาลัย?
38
e-Learning กับ Learning Management
การจัดการเรียนรู้ แบบอัตโนมัติ การลงทะเบียน การบันทึกเวลาเรียน การติดตาม (tracking) การประเมินผล การประเมินประสิทธิภาพการเรียนรู้ การเก็บข้อมุลทางสถิติต่าง ๆ การปรับแต่งและการปรับสภาพ การจัดการเรื่องการเงิน
39
ปัญหาอุปสรรคใหญ่ ผู้คนเข้าใจ eLearning ผิดคิดว่านำหนังสือใส่เว็บ
ขาดความเข้าใจในเรื่อง knowledge construction ขาดการพัฒนา ขาดเครื่องมือทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และเนื้อหา ขาดบุคลากรที่เข้าใจ
40
กระบวนการ eLearning เกิดขึ้นกับเทคโนโลยี และกระบวนการบริหารจัดการ
Video Tape ก็เป็น e-Learning ได้ Tele education Virtual Classroom Webbase Training
41
กระบวนการจัดการเป็นเรื่องสำคัญ
จะจัดการเนื้อหาและสร้างความรู้อย่างไร ? จะจัดการเทคโนโลยีอย่างไร ? จะจัดการระบบอย่างไร ? จะจัดการพัฒนาให้เกิดขึ้นได้อย่างไร ? จะจัดการประสิทธิภาพได้อย่างไร ?
42
อนาคต จะสร้างคนที่เข้าใจและบุคลากรการศึกษา สมัยใหม่ได้อย่างไร
(หลักสูตร eLearning ควรมีในคณะศึกษาศาสตร์ มานานแล้ว :- Knowledge Construction, Artificial Intelligence, Expert System, Knowledge base Management, Learning Process with IT, Learning Management, IT based for Education, Thinking and Reasoning, Cognitive Science etc.)
43
เราจะยังช้าอยู่อีกไม่ได้แล้ว
อนาคต จะสร้างสังคมใหม่ที่เป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ และเข้าใจ world knowledge ให้มากขึ้น การสร้างแนวคิดของการเรียนแบบ “ป้อนให้” ซึ่งเป็นแบบเดิมจะเปลี่ยนเป็นแบบ “แสวงหา” ได้อย่างไร เราจะยังช้าอยู่อีกไม่ได้แล้ว
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.