งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Competency Assessment communication

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Competency Assessment communication"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Competency Assessment communication
การบรรยายสำหรับกลุ่มนำร่อง การประเมินสมรรถนะของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์

2 จุดมุ่งหมาย สร้างความเข้าใจร่วมกันถึงกระบวนการบริหาร สมรรถนะ สำหรับการพัฒนาบุคลากร กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ สร้างความเข้าใจร่วมกันถึงวิธีการใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อการบริหารสมรรถนะ สำหรับการพัฒนา จุดมุ่งหมาย เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันถึง สมรรถนะ เพื่อสร้างความเข้าใจถึงการใช้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อการบริหารสมรรถนะเพื่อการพัฒนา

3 Why you are here?

4 ทำไมต้องเป็นคุณ? กระทรวงฯ เลือกคุณเป็นกลุ่มแรก ให้ลองประเมิน สมรรถนะ (Competency Assessment) เพราะเราเชื่อว่า จะเกิดเป็นตัวอย่างความสำเร็จที่ดี ที่ทำ ให้คนอื่นๆ ในกระทรวง อยากทำตาม หรืออยากลองใช้ดู บ้าง

5 สมรรถนะ และการนำไปประยุกต์ใช้งาน
สมรรถนะ และการนำไปประยุกต์ใช้งาน

6 อันนำไปสู่ผลการปฏิบัติงานที่ดีที่สุด
Competency สมรรถนะ “หมวดหมู่ของพฤติกรรมการทำงานที่องค์กรคาดหวัง (Expected Work Behaviors) อันนำไปสู่ผลการปฏิบัติงานที่ดีที่สุด (Best Performance)”

7 Competency สมรรถนะ ดังนั้น สมรรถนะของกระทรวงฯ จะช่วยผลักดันค่านิยมและผลสัมฤธิ์ที่คาดหวัง ให้เกิดขึ้นจริงในภาคปฏิบัติ โดยทางพฤติกรรมที่บุคลากรแสดงออก ตามบทบาทของแต่ละคน

8 พฤติกรรมการทำงาน ซึ่งนำไปสู่ผลงานที่ดีเลิศ
Knowledge Skill Attitude Ability Values Motives Drive Passion Performance Behaviors

9 ทำไม ต้องพฤติกรรม? สังเกตได้ วัดประเมินได้
สามารถเข้าใจและปรับตัวได้ง่าย เรียนรู้และปรับเปลี่ยนได้ นำไปสู่ผลสัมฤทธิ์

10 Competency Architecture
Organizational-Wide Competency (for all people) Cluster/Functional Competency (different for each function/role) Job-Specific Knowledge & Skills Inventory

11 The Use of Competency Model
Compensation Rewards & Recognition Recruitment & Staffing Learning & Development Competency (Behavioral Model) Performance Management Career Planning HR & Succession Planning

12 Use Behavioral Model to Assess People
Individual Assessment Report Questionnaire Test Behavioral Interview Simulation/ Role Play Assessment Center

13 M_Society Competency Modeling Steps
สัมภาษณ์ผู้บริหาร เกี่ยวกับ Core Values จัดทำ Role and Performance Matrix ตาม Core Business Processes 1 นิยาม Performance ของแต่ละ Key Roles 2 วิเคราะห์ผลการสัมภาษณ์ เพื่อสร้างต้นแบบ Core Competency สัมภาษณ์ Key Performers เป็นรายบุคคล เพื่อระบุพฤติกรรมชี้วัด 3 จัดทำการสำรวจเพื่อยืนยัน Core Competency วิเคราะห์ผลการสัมภาษณ์เพื่อสร้างต้นแบบ Role Competency 4 สรุปผลการกำหนด Core Competency จัดทำการสำรวจเพื่อยืนยัน Role Competency สรุปผลการกำหนด Role Competency จัดทำ Job & Competency Matrix 5 6 กำหนดหลักสูตรการพัฒนาที่สอดคล้องกับรายการสมรรถนะ 7 ติดตั้งโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับการบริหารสมรรถนะ 8 สร้างความเข้าใจพื้นฐานสำหรับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง 9 ประเมิน Competency & IDP Pilot Group

14 สมรรถนะหลักข้าราชการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
ลำดับที่ 1 ชื่อ จิตมุ่งบริการ ความหมาย บริการประชาชนด้วยความเต็มใจ เสมือนว่าให้บริการคนในครอบครัวของตน เพื่อมุ่งประโยชน์สูงสุดของประชาชน ระดับ ตัวชี้วัดพฤติกรรม 1 เข้าไปสอบถามผู้มารับบริการก่อนที่เขาจะขอรับบริกา เสนอตัวช่วยเหลือผู้ร่วมงาน / ผู้มารับบริการ ก่อนที่เขาจะร้อ ให้ความช่วยเหลือจนผู้มารับบริการสามารถช่วยเหลือตนเองได้ ให้บริการด้วยกริยายิ้มแย้ม ให้บริการด้วยวาจาที่ไพเราะและไม่ดูถูกผู้มารับบริการ ช่วยเหลือผู้รับบริการด้วยท่าทีที่เต็มใจ แม้ว่างานที่ต้องทำอาจจะมองว่าเป็นงานที่ต่ำต้อย รับฟังผู้มาขอรับบริการด้วยท่าทีที่สนใจ ให้บริการด้วยความเท่าเทียม ไม่แบ่งแยก พูดคุย ซักถาม เรื่องทั่วไปนอกเหนือจากข้อมูลที่ต้องการบันทึกเพื่อสร้างความคุ้นเคยกับผู้มารับบริการ อธิบายให้ผู้มารับบริการเข้าใจได้ง่าย รับเรื่องไว้แม้ไม่ใช่หน้าที่ของหน่วยงานของตน และประสานต่อไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2 ประสานหน่วยงานอื่นที่ให้ความช่วยเหลือได้ ในกรณีที่เรื่องที่ผู้มารับบริการต้องการ อยู่ นอกเหนือจากขอบเขตงานของตน ให้ความช่วยเหลือผู้ที่เกี่ยวข้องกับผู้มารับบริการด้วย เช่นครอบครัวของผู้มารับบริการ ติดตามผลงาน หลังจากให้ความช่วยเหลือผู้มารับบริการแล้ว ทำงานแทนเพื่อนร่วมงานในกรณีที่จำเป็น 3 ศึกษา ทำความเข้าใจงานของหน่วยงานอื่น เพื่อจะได้มีข้อมูลในการให้บริการ มีความรู้ความเข้าใจในงาน และมีจิตพร้อมที่จะให้บริการ เปิดโอกาสให้ผู้รับบริการได้ให้ข้อแนะนำหรือเสนอแนะการจัดบริการ 4 ประสานงานให้เกิดความช่วยเหลือซึ่งกันและกันระหว่างผู้มารับบริการ ปรับปรุงให้เกิดการบริการอย่างรวดเร็วขึ้น 5 ควบคุมอารมณ์ได้ในทุกสถานการณ์ จัดระบบการให้บริการที่เหมาะสมแก่กลุ่มเป้าหมาย

15 IDP Process: Competency used for Learning and Development
Behavioral Indicators Assess IDP กำหนดพฤติกรรมชี้วัด หา Feedbackสมรรถนะ สร้างแผนพัฒนารายบุคคล

16 1 องค์กร จับคู่ ระหว่าง สมรรถนะ และ ตำแหน่ง
ระบุให้ชัดว่า ตำแหน่งไหน ต้องมีสมรรถนะใด ระดับใด องค์กร จับคู่ ระหว่าง สมรรถนะ และ ตำแหน่ง กำหนดระดับสมรรถนะ สำหรับแต่ละตำแหน่ง ทุกคนรู้ว่าตนเองถูกคาดหวังให้แสดง พฤติกรรม อะไร

17 1 2 ใช้แบบสอบถามตาม พฤติกรรมชี้วัด ที่ระบุไว้
ระบุให้ชัดว่า ตำแหน่งไหน ต้องมีสมรรถนะใด ระดับใด ค้นหาว่า จริงๆแล้ว ในแต่ละคน มีสมรรถนะใดเด่น หรือด้อย ใช้แบบสอบถามตาม พฤติกรรมชี้วัด ที่ระบุไว้ อาศัยการสังเกตจากการ แสดงออกจริง เพื่อตอบแบบสอบถาม

18

19 * IDP – Individual Development Plan
1 2 3 ระบุให้ชัดว่า ตำแหน่งไหน ต้องมีสมรรถนะใด ระดับใด ค้นหาว่า จริงๆแล้ว ในแต่ละคน มีสมรรถนะใดเด่น หรือด้อย เลือกสมรรถนะ เพื่อการพัฒนา ให้สอดคล้องกับ ผลจากแบบสอบถาม กำหนด กิจกรรมเพื่อการพัฒนา ตามสมรรถนะที่เลือก เลือกใช้การฝึกอบรม หรือวิธีการอื่นๆก็ได้ แต่ละคนมี แผนพัฒนารายบุคคล ที่สอดคล้องกับความต้องการจริง * IDP – Individual Development Plan

20 Competency Assessment online
การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อประเมินสมรรถนะแบบออนไลน์

21 Login เข้าสู่ระบบ ใส่ Username ใส่ Password
1 ใส่ Username ใส่ Password เข้าสู่เว็บไซท์การประเมินที่ www. ขั้นตอนที่ กรอก login ที่ท่านได้รับ กรอก Password ที่ท่านได้รับ 2

22 “เลือก Assessment เพื่อเข้าสู่หน้าการประเมินสมรรถนะ”
ท่านจะพบหน้าจอที่มีสีฟ้า

23 รายละเอียดหน้าแรก และคำแนะนำ
1 ชื่อของคนที่เข้ามาใช้ระบบ 4 คำแนะนำในการใช้โปรแกรม 3 ท่านจะพบกับหน้าแรกของโปรแกรม สิ่งที่ท่านต้องทำคือ ตรวจสอบชื่อว่าตรงกับชื่อของท่านหรือไม่? คลิกที่เครื่องหมาย + เพื่อดูตำแหน่งของบุคคลเจ้าของชื่อที่ท่านต้องการทราบ ตำแหน่งงานของผู้นั้นจะปรากฏอยู่ภายใต้ชื่อ ในกรณีที่ ท่านมีข้อสงสัยการใช้โปรแกรม ให้ท่านคลิกที่รูป เพื่ออ่านคำแนะนำของโปรแกรม ตำแหน่งงาน 2 คลิกที่เครื่องหมาย “+” เพื่อดูตำแหน่งงาน

24 เลือกบุคคลที่จะทำการประเมิน
1 คลิกที่ชื่อเพื่อทำการประเมิน 1.1 ประเมินตนเอง 1.1 ในกรณี ท่านเป็นผู้ถูกประเมิน โดย คลิกที่ชื่อ ของท่าน 1.2 ในกรณี ท่านเป็นผู้บังคับบัญชา จะประเมินผู้ใต้บังคับบัญชา ให้ คลิกที่ชื่อ ผู้ที่ท่านต้องการจะประเมิน 1.2 ประเมินผู้ใต้บังคับบัญชา

25 แบบประเมินผู้ใต้บังคับบัญชา
2 1 ชื่อผู้ที่กำลังถูกประเมิน คำแนะนำการใช้โปรแกรม 3 เลือกคลิกที่หน้า ระดับพฤติกรรมที่สังเกตพบ ท่านจะพบกับ “แบบประเมิน” ของบุคคลผู้นั้น สิ่งที่ท่านต้องทำคือ ตรวจสอบชื่อของผู้ถูกประเมิน ว่าถูกต้องหรือไม่? ดำเนินการประเมิน ตามคำแนะนำการใช้โปรแกรม ดำเนินการประเมินสมรรถนะแต่ละสมรรถนะ โดยพิจารณาว่าตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา ผู้ที่กำลังถูกประเมินนั้น แสดงพฤติกรรมอยู่ในระดับใด โดยให้ท่านคลิกที่ช่องวงกลมหน้าระดับพฤติกรรมซึ่งท่านเห็นว่าตรงกับความเป็นจริง

26 รายละเอียดเพิ่มเติมของพฤติกรรมชี้วัด
คลิกที่ตัวพฤติกรรมแต่ละระดับ เพื่อดูรายละเอียดของตัวพฤติกรรมชี้วัด สำหรับพฤติกรรมแต่ละระดับ ท่านสามารถคลิกที่ตัวหนังสือในระดับนั้นๆ เพื่ออ่าน พฤติกรรมชี้วัดเพิ่มเติมได้ โดยพิจารณาว่าผู้ถูกประเมิน มีพฤติกรรมอยู่ในระดับดังกล่าวหรือไม่

27 การให้ความคิดเห็นเพิ่มเติม และส่งแบบประเมิน
การให้ความคิดเห็นเพิ่มเติม และส่งแบบประเมิน 1 ท่านสามารถใส่ความคิดเห็นเพิ่มเติมได้ 2.1 2.2 คลิกที่นี่ เมื่อต้องการบันทึกผลการประเมินไว้ เพื่อกลับมาทำการประเมินต่อในภายหลัง คลิกที่นี่ เมื่อประเมินเสร็จ และต้องการส่งผลการประเมิน นอกจากการประเมินสมรรถนะหลักทั้ง 5 สมรรถนะแล้ว ท่านยังสามารถพิมพ์ความเห็นของท่าน เพิ่มเติมในส่วนท้ายได้อีกด้วย เมื่อประเมินสมรรถนะเสร็จแล้วท่านสามารถเลือกได้ 2 กรณีคือ 2.1 ในกรณีที่ท่านยังไม่แน่ใจ ท่านสามารถเก็บผลการประเมินไว้ก่อน เพื่อกลับมาแก้ไขในภายหลัง โดยคลิกที่ บันทึกผลการประเมิน 2.2 ในกรณีที่ท่านมั่นใจแล้ว ท่านสามารถคลิกที่ ส่งผลการประเมิน เพื่อจัดส่งผลการประเมินสมรรถนะเข้าสู่ระบบของกระทรวง

28 ยืนยันการส่งผลการประเมิน
1.1 1.2 คลิก OK ถ้าต้องการส่งผลการประเมิน เมื่อส่งผลการประเมินแล้วผู้ประเมิน “ไม่”สามารถแก้ไขผลการประเมินได้อีก คลิก Cancel ถ้าต้องการ “ยกเลิก” การส่งผลการประเมิน 1.1 คลิก OK เพื่อยืนยันการส่งผลการประเมิน (ซึ่งท่านจะไม่สามารถแก้ไขได้อีก) 1.2 คลิก Cancel เพื่อยกเลิกการส่งผลการประเมิน

29 ดูสถานะของแบบประเมินและรายงานผลการประเมิน
1.1 สถานะ Draft หมายถึงการประเมินยังไม่เสร็จสิ้นและยังไม่สามารถดูรายงานผลการประเมินได้ ท่านสามารถดูสถานะของแบบประเมินได้ ดังนี้ 1.1 สถานะ Draft หมายถึง การประเมินยังไม่เสร็จสิ้น 1.2 สถานะ Completed หมายถึงการประเมินเสร็จสิ้นแล้ว (ซึ่งชื่อของผู้ถูกประเมินจะ เปลี่ยนเป็นสีฟ้า) ท่านสามารถดูผลการประเมินได้โดยคลิกที่รูปเอกสาร  ที่อยู่หน้าชื่อของผู้นั้น 1 1.2 สถานะ Completed หมายถึงการประเมินเสร็จสิ้นแล้วและสามารถดูรายงานผลการประเมินได้ คลิกที่รูป  เพื่อดูผลการประเมิน

30 ผลการประเมิน และวิธีดูผลการประเมิน
1.1 1.2 เส้นสีเขียวคือระดับสมรรถนะที่คาดหวังของผู้ถูกประเมิน เส้นสีแดงคือระดับสมรรถนะ ที่ถูกสังเกตุพบของผู้ถูกประเมิน 1 คำอธิบายความหมายของสีเส้น วิธีดูผลการประเมิน 1.1 จุดสีเขียวที่อยู่หลังสมรรถนะแต่ละตัว หมายถึงระดับพฤติกรรมที่คาดหวัง ต่อตำแหน่งของผู้ถูกประเมิน 1.2 จุดสีแดงที่อยู่หลังสมรรถนะแต่ละตัว หมายถึงระดับพฤติกรรมที่ผู้ประเมิน เห็นว่าผู้ถูกประเมิน มีพฤติกรรมที่เป็นจริงอยู่ในระดับนั้น 2. คลิก Close เพื่อปิดหน้าต่างนี้ 2 คลิก close เพื่อปิดหน้านี้

31 IDP online การจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล

32 Login เข้าสู่โปรแกรม ใส่ Username ใส่ Password
1 ใส่ Username ใส่ Password กรอก login ที่ท่านได้รับ กรอก Password ที่ท่านได้รับ 2

33 เลือก IDP เพื่อเข้าสู่แผนการพัฒนารายบุคคล
(หน้าจอจะมีสีแดงเลือดหมู)

34 ชื่อของคนที่เข้ามาใช้ระบบ
1 ชื่อของคนที่เข้ามาใช้ระบบ 4 คำแนะนำในการใช้โปรแกรม 3 ท่านจะพบกับหน้าแรกของการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล (IDP) สิ่งที่ท่านต้องทำคือ ตรวจสอบชื่อว่าตรงกับชื่อของท่านหรือไม่? คลิกที่เครื่องหมาย + เพื่อดูตำแหน่งของบุคคลเจ้าของชื่อที่ท่านต้องการทราบ ตำแหน่งงานจะปรากฏอยู่ภายใต้ชื่อผู้นั้น 4. ถ้าท่านมีข้อสงสัยการใช้โปรแกรม ให้ท่านคลิกที่รูป เพื่ออ่านคำแนะนำของโปรแกรม ตำแหน่งงาน 2 คลิกที่เครื่องหมาย “+” เพื่อดูตำแหน่งงาน

35 เลือกผู้ที่จะจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล
คลิกที่ชื่อผู้ใต้บังคับบัญชา ที่จะทำแผนพัฒนารายบุคคล 1 คลิกที่ชื่อเพื่อเลือกทำแผนพัฒนารายบุคคล

36 จัดทำแผนพัฒนารายบุคคล
ให้ท่านเลือกสมรรถนะ ที่ต้องการพัฒนา โดยดูจากผลการประเมินสมรรถนะตัวที่พบว่า ระดับพฤติกรรมที่เป็นจริง (จุดสีแดง) อยู่ต่ำกว่าระดับที่คาดหวัง (จุดสีเขียว) โดยให้ท่านคลิกที่ช่องสี่เหลี่ยม หน้าสมรรถนะที่ต้องการพัฒนา 1 คลิกที่หน้าชื่อสมรรถนะที่ต้องการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล

37 เลือกกิจกรรมเพื่อการพัฒนา
1 เลือกกิจกรรมพัฒนา ตามที่ต้องการ 2 3 เลือกกิจกรรมที่จะใช้ในการพัฒนา โดยท่านสามารถเลือกได้จาก 1.1 การฝึกอบรมหลักสูตรต่างๆ 1.2 กิจกรรมนอกเหนือการฝึกอบรมเช่น การสอนงาน การมอบหมายงานพิเศษ อื่น ๆ เป็นต้น กรอก วิธีวัดผลสำเร็จ เลือกวันที่ครบกำหนด โดยคลิกที่รูปปฏิทิน เมื่อคลิกแล้วจะปรากฏภาพปฏิทินภาพใหญ่ โดยท่านสามารถคลิกเลือกเดือน และวันที่ ที่ครบกำหนดได้ เมื่อเสร็จสิ้นการจัดทำแผนพัฒนารายบุคคล ท่านสามารถทำได้ 2 กรณีคือ 4.1 คลิก บันทึกแผนพัฒนารายบุคคล เพื่อจัดเก็บแผนพัฒนารายบุคคลไว้ เพื่อแก้ไขในภายหลัง 4.2 คลิก ส่งแผนพัฒนารายบุคคล เพื่อส่งแผนพัฒนารายบุคคลเข้าสู่ระบบของกระทรวง ในกรณีที่ท่านมั่นใจแล้ว ใส่วิธีการวัดผลสำเร็จ เลือกวันที่ครบกำหนด 4.1 4.2 คลิกที่นี้เมื่อต้องการ บันทึกแผนการพัฒนาของท่านนี้เพื่อกลับมาทำต่อภายหลัง คลิกที่นี้เมื่อจัดทำแผนการพัฒนารายบุคคลเสร็จสิ้นและต้องการส่ง

38 บันทึกและจัดส่งแผนพัฒนารายบุคคล
1.1 คลิก OK เมื่อจัดทำแผนเสร็จสิ้นและต้องการส่ง เมื่อคลิก OK แล้วจะ “ไม่”สามารถแก้ไขแผนการพัฒนาของบุคคลนี้ได้อีก 1.2 คลิก Cancel เพื่อยกเลิกการส่งแผน 1.1 คลิก OK เมื่อจัดทำแผนเสร็จสิ้นและต้องการส่ง เมื่อคลิก OK แล้วจะ “ไม่”สามารถแก้ไขแผนการพัฒนาของบุคคลนี้ได้อีก 1.2 คลิก Cancel เพื่อยกเลิการส่งแผน

39 ดูแผนพัฒนารายบุคคล 1 สถานะ Completed หมายถึงแผนการพัฒนารายบุคคลของท่านนี้ได้จัดทำเสร็จสิ้นแล้วพร้อมจะดูรายงานแผนพัฒนารายบุคคลได้ทันที ท่านสามารถดูแผนพัฒนารายบุคคลที่จัดทำแล้วดังนี้ สถานะ Completed หมายถึง แผนพัฒนารายบุคคลจัดทำเสร็จแล้ว (สังเกตได้ว่าชื่อจะเปลี่ยนเป็นสีฟ้า) คลิกที่รูป  เพื่อ เข้าไปดูแผนพัฒนารายบุคคล 2 คลิกที่รูปรายงานเพื่อดูแผนการพัฒนารายบุคคลของบุคคลนี้

40 แผนพัฒนารายบุคคล ข้อมูลแผนพัฒนาตนเองของบุคคลนี้
1 ข้อมูลแผนพัฒนาตนเองของบุคคลนี้ ท่านจะพบกับ แผนพัฒนารายบุคคลของผู้ที่ท่านเลือก สิ่งที่ท่านสามารถทำได้คือ ตรวจสอบชื่อเจ้าของแผนพัฒนารายบุคคล ท่านสามารถสั่งพิมพ์โดยคลิกที่ปุ่ม Print คลิกที่ปุ่ม Close เพื่อปิดหน้าต่างนี้ 3 2 คลิก close เพื่อปิดหน้านี้ คลิก print เพื่อสั่งพิมพ์

41 Pitfalls & Hints

42 Pitfalls ข้อควรระวัง ข้อมูลไม่จริง ข้อมูลไม่ครบ ไม่สนใจพัฒนาตนเอง
ใช้โอกาสดีแบบนี้ ในทางไม่สร้างสรรค์ ให้ข้อมูลด้วยอคติ (รักและชัง) หรือใช้เป็นโอกาส attack ผู้อื่น ให้คิดอยู่เสมอว่า ข้อมูลที่คุณให้ จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและผู้อื่น พึงให้ข้อมูลที่ปราศจากอคติและถูกต้องตามความจริง ให้คะแนนแบบเร็วๆ ขาดการคิดอย่างจริงจังก่อนตอบ ข้อมูลไม่ครบ ไม่ตอบแบบสอบถามกลับมา ก็ไม่มีข้อมูลพอจะนำมาทำ IDP ตอบแต่ตัวคะแนน ไม่ให้ข้อสังเกตหรือตอบคำถามปลายเปิด ไม่สนใจพัฒนาตนเอง เห็นคะแนนจาก Report แล้วไม่ยอมรับ ไม่ลองอ่านแล้วพิจารณาดูก่อน มี IDP ของตนเองแล้วไม่ปฏิบัติตามแผนฯ ทำให้ที่ทำมาเสียเปล่าประโยชน์ สิ้นเปลืองทรัพยากรบริษัท ผลคะแนนตาม Report ไม่มีผลต่อค่าตอบแทน เงินเดือน หรือการประเมินผลการปฏิบัติงานแต่อย่างใด

43 Hints ข้อควรปฏิบัติ ตอบแบบสอบถามด้วยความจริง
ตอบแบบสอบถามกลับมาตรงเวลา ตอบแบบสอบถามด้วยตนเองคนเดียว ให้คะแนนและข้อสังเกตจากข้อเท็จจริง ให้ข้อสังเกตเพื่อสร้างสรรค์ ให้ผู้รับ feedback นำไปพัฒนาตนเองได้ ใช้ประโยชน์เพื่อพัฒนาตนเอง ทัศนคติเปิดกว้างและมองผลคะแนนและข้อสังเกตจาก Report ในแง่ดี เห็น เป็นของขวัญ ด้วยความขอบคุณ เข้ารับการฝึกอบรมหรือพัฒนาตาม IDP ของตนเอง เพราะเป็นผลดีต่อทั้งตัว เองและต่อกระทรวง

44 นัดหมาย ในกรณีที่ต้องการถามข้อสงสัยกรุณาติดต่อ
วันจันทร์ที่ 31 ก.ค. ส่วนกลาง, สำนักงานกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว, สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส คนพิการและผู้สูงอายุ วันอังคารที่ 1 ส.ค. กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ วันพุธที่ ส.ค. ส่วนภูมิภาคทุกจังหวัด ในกรณีที่ต้องการถามข้อสงสัยกรุณาติดต่อ Hotline : คุณสมโภชน์ คุณธีทัต


ดาวน์โหลด ppt Competency Assessment communication

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google