งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การอนุรักษ์พลังงานและการประเมินผล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การอนุรักษ์พลังงานและการประเมินผล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การอนุรักษ์พลังงานและการประเมินผล
มาตรการ: ใช้งานอุปกรณ์แลกเปลี่ยนความร้อน

2 แนวทางการปรับปรุง

3 ติดตั้ง Economizer ที่ Air Heater
ก่อนปรับปรุง หลังปรับปรุง Air Heater Burner ลมสะอาด ลมร้อน(สะอาด) OC ไอเสียปล่อยทิ้ง OC อากาศเข้า เชื้อเพลิง (ก๊าซธรรมชาติ) 35-40OC ไอเสียเข้า Economizer Economizer 55-57OC ไอเสียออก

4 นำความร้อนจากคอมเพรสเซอร์ห้องเย็นมาใช้ (ร่วมกับ Heat Pump)

5 การนำน้ำคอนเดนเสทมาอุ่นน้ำอ้อย
ก่อนการปรับปรุง หลังการปรับปรุง

6 นำความร้อนจากน้ำระบายความร้อนมาใช้
มาใช้อุ่นน้ำล้างขวด

7 แนวทางการประเมินผล A ประเมินโดยดัชนี (SEC)

8 การตรวจพิสูจน์ผลประหยัดโดยใช้ดัชนี (SEC) กรณีการติดตั้ง Economizer ที่ Air Heater และการนำความร้อนทิ้งจากคอมเพรสเซอร์มาใช้ 1.หาตัวแปรกำหนดสภาวะการทำงาน 2.หาค่าดัชนีการใช้พลังงานต่อหน่วย (SEC) ก่อนและหลังการปรับปรุง ดัชนีการใช้พลังงานต่อหน่วย = ปริมาณ พลังงานที่ใช้ ปริมาณผลผลิต(Out put)ของระบบ 3.หาค่าผลประหยัดที่เกิดขึ้นต่อหน่วยการผลิตลมร้อน โดยคิดจาก ผลประหยัดต่อหน่วย = ดัชนีการใช้พลังงานต่อหน่วยก่อน – หลังปรับปรุง 4.ปรับแก้ค่าผลประหยัดในกรณีที่มีตัวแปรกำหนดสภาวะการทำงานมีค่าแตกต่างกัน 5.หาค่าผลประหยัดรายปี โดยคิดจาก ผลประหยัดรายปี = ผลประหยัดต่อหน่วย x ปริมาณผลผลิต/ปี

9 กรณีการติดตั้ง Economizer ที่ Air Heater (ใช้การตรวจวัดเพื่อประเมินโดย SEC)
1.หาค่าดัชนีการใช้พลังงานต่อหน่วยลมร้อนที่ผลิตก่อนและหลังการปรับปรุง โดยคิดจาก ดัชนีการใช้พลังงานต่อหน่วย(BTU/m3)= ปริมาณก๊าซธรรมชาติที่ใช้(m3) x ค่าความร้อน(BTU/m3) ปริมาณลมร้อนที่ผลิตได้(m3) 2.หาค่าผลประหยัดที่เกิดขึ้นต่อหน่วยการผลิตลมร้อน โดยคิดจาก ผลประหยัดต่อหน่วย(BTU/m3) = ดัชนีการใช้พลังงานต่อหน่วยก่อน – หลังปรับปรุง 3.ปรับแก้ค่าผลประหยัดในกรณีที่มีตัวแปรที่มีผลกระทบกับประสิทธิภาพของระบบแตกต่างกันมาก ได้แก่ - ค่าอุณหภูมิของลมร้อนที่ผลิตได้ - ค่าเอนทาลปีของบรรยากาศ (อุณหภูมิ และความชื้นของบรรยากาศ) 4.หาค่าผลประหยัดรายปี โดยคิดจาก ผลประหยัดรายปี =ผลประหยัดต่อหน่วย(BTU/m3) x ปริมาณการผลิตลมร้อนต่อปี(m3)

10 กรณีการนำความร้อนทิ้งจากคอมเพรสเซอร์มาใช้ (ใช้การตรวจวัดเพื่อประเมินโดย SEC)
1.คำนวณหาดัชนีการใช้น้ำมันดีเซลต่อจำนวนห้องพักในแต่ละเดือน ดัชนีการใช้เชื้อเพลิงต่อห้องพัก(ลิตร/ห้อง-วัน) = ปริมาณการใช้เชื้อเพลิงในหม้อไอน้ำ (ลิตร) จำนวนห้องพักที่จำหน่าย(ห้อง-วัน) 2.คำนวณหาดัชนีการใช้พลังงานเชื้อเพลิงที่ลดลง ดัชนีการใช้เชื้อเพลิงที่ลดลง (ลิตร/ห้อง-วัน) = ดัชนีการใช้เชื้อเพลิงก่อนปรับปรุง – หลังปรับปรุง 3.คำนวณหาปริมาณเชื้อเพลิงที่ประหยัดได้จากการปรับปรุง ผลประหยัดเชื้อเพลิง(ลิตร/ปี) = ดัชนีการใช้เชื้อเพลิงที่ลดลง(ลิตร/ห้อง-วัน) x จำนวนห้องพัก ที่จำหน่ายต่อปี ในปีฐาน (ห้อง-วัน/ปี) 4.คำนวณหาพลังงานไฟฟ้าที่ใช้เพิ่มขึ้นจากการปรับปรุง โดยคิดจาก พลังงานไฟฟ้าที่ใช้เพิ่มขึ้น (kWh/ปี)= ดัชนีการใช้ไฟฟ้าเฉลี่ย(kWh/ห้อง-วัน) x จำนวนห้องพักที่ จำหน่ายต่อปี ใน Base year (ห้อง-วัน/ปี) 5. คำนวณหาผลประหยัดพลังงานสุทธิ ผลประหยัดสุทธิ = ผลประหยัดเชื้อเพลิง(ลิตร/ปี) – การใช้ไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้น(kWh/ปี)

11 แนวทางการประเมินผล B ประเมินโดยค่าความร้อน (Q)

12 การตรวจพิสูจน์ผลประหยัดโดยใช้ค่าความร้อน กรณีนำน้ำคอนเดนเสทมาอุ่นน้ำอ้อย และการนำน้ำระบายความร้อนมาอุ่นน้ำล้างขวด 1.หาตัวแปรกำหนดสภาวะการทำงาน 2.หาค่าพลังงานที่ถ่ายเทกลับคืนโดยทางตรงหรือทางอ้อม (แล้วแต่ความสะดวกในการตรวจวัด) 2.1 ทางตรงคิดจากพลังงานที่ระบบได้รับกลับคืน 2.2 ทางอ้อมคิดจากพลังงานที่ถ่ายเทออกมาจากแหล่งความร้อน โดยสมการหลักในการคำนวณค่าความร้อนคือ Q = m x Cp x (T2-T1) 3.หาปริมาณพลังงาน(Primary)ที่ประหยัดได้โดยคำนวณจากประสิทธิภาพของระบบผลิตความร้อน เช่น Boiler Burner Heater เป็นต้น พลังงานที่ประหยัดได้ = พลังงานความร้อนที่ได้ประหยัดได้ ประสิทธิภาพของระบบผลิตความร้อน x ค่าความร้อนต่อหน่วยเชื้อเพลิง 4.ปรับแก้ค่าผลประหยัดในกรณีที่มีตัวแปรกำหนดสภาวะการทำงานมีค่าแตกต่างกัน

13 กรณีนำน้ำคอนเดนเสทมาอุ่นน้ำอ้อย (ใช้การตรวจวัดเพื่อประเมินโดยค่าความร้อน)
ปริมาณไอน้ำที่ประหยัดได้ ที่ 1St Lime Juice Heater (mSteam, Ton/ปี) โดยที่ mJuice = ปริมาณน้ำอ้อย, Ton/ปี CP, Juice = Specific Heat ของน้ำอ้อย, kJ/kg K TPre = อุณหภูมิของน้ำอ้อยก่อนเข้า 1St Lime Juice Heater ก่อนการปรับปรุง TPost = อุณหภูมิของน้ำอ้อยก่อนเข้า 1St Lime Juice Heater หลังการปรับปรุง  = ค่า Effectiveness ที่ 1St Lime Juice Heater = ค่าผลต่างเอนทาลปีของไอน้ำ, kJ/kg

14 กรณีนำน้ำระบายความร้อนมาอุ่นน้ำล้างขวด (ใช้การตรวจวัดเพื่อประเมินโดยค่าความร้อน)
หลักการที่นำมาใช้ 1. หม้อไอน้ำ หาค่า SEC ของหม้อไอน้ำ ในหน่วยของ MMBTU ของก๊าซธรรมชาติต่อปริมาณไอน้ำที่ผลิตได้ เพื่อ ประเมินต้นทุนในการผลิตไอน้ำ 2. น้ำ SW1 สำหรับเครื่องล้างขวด ประเมินค่าความร้อน ของน้ำ SW1 ที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากการติดตั้ง Plate Heat Exchanger ใหม่ เพื่อเปรียบเทียบการลดลงของปริมาณไอ น้ำที่ต้องนำไปผสมกับน้ำ SW1 ก่อนนำไปใช้กับเครื่องล้าง ขวด


ดาวน์โหลด ppt การอนุรักษ์พลังงานและการประเมินผล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google