งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สถานการณ์พลังงานไทย ม.ค. – เม.ย. 2557

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สถานการณ์พลังงานไทย ม.ค. – เม.ย. 2557"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สถานการณ์พลังงานไทย ม.ค. – เม.ย. 2557
ศูนย์พยากรณ์และสารสนเทศพลังงาน

2 การใช้ การผลิต การนำเข้าพลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น
การนำเข้า (สุทธิ) การใช้ * เดือน ม.ค. – เม.ย. เทียบเท่าพันบาร์เรลน้ำมันดิบต่อวัน การนำเข้า/การใช้ 58 % หมายเหตุ : การนำเข้า (สุทธิ) หมายถึง การนำเข้าที่หักลบการส่งออกแล้ว

3 การใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น
สัดส่วนการใช้ พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น ก๊าซธรรมชาติ น้ำมัน เทียบเท่าพันบาร์เรลน้ำมันดิบต่อวัน 2557* ถ่านหินนำเข้า ลิกไนต์ ไฟฟ้าพลังน้ำ/ไฟฟ้านำเข้า รวมทั้งสิ้น 2,028 เทียบเท่าพันบาร์เรลน้ำมันดิบต่อวัน การใช้พลังงานขั้นต้น  0.1 % * เดือน ม.ค. – เม.ย.

4 การผลิตพลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น
สัดส่วนการผลิต พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น ก๊าซธรรมชาติ เทียบเท่าพันบาร์เรลน้ำมันดิบต่อวัน 2557* น้ำมันดิบ ลิกไนต์ คอนเดนเสท พลังน้ำ รวมทั้งสิ้น 1,094 เทียบเท่าพันบาร์เรลน้ำมันดิบต่อวัน การผลิตพลังงานขั้นต้น  0.2 % * เดือน ม.ค. – เม.ย.

5 การนำเข้า (สุทธิ) พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น
สัดส่วนการนำเข้า (สุทธิ) พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นต้น น้ำมัน เทียบเท่าพันบาร์เรลน้ำมันดิบต่อวัน 2557* ถ่านหินนำเข้า ก๊าซธรรมชาติและ LNG ไฟฟ้า รวมทั้งสิ้น 1,169 เทียบเท่าพันบาร์เรลน้ำมันดิบต่อวัน การผลิตพลังงานขั้นต้น  6.7 % * เดือน ม.ค. – เม.ย.

6 การใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นสุดท้าย
สัดส่วนการใช้ พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นสุดท้าย น้ำมัน เทียบเท่าพันบาร์เรลน้ำมันดิบต่อวัน 2557* ไฟฟ้า ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหินนำเข้า ลิกไนต์ รวมทั้งสิ้น 1,327 เทียบเท่าพันบาร์เรลน้ำมันดิบต่อวัน การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย  0.3 % * เดือน ม.ค. – เม.ย.

7 ปริมาณสำรองพลังงานในประเทศไทย
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ปริมาณสำรอง การผลิต ปี 2555 ใช้ได้นาน(ปี) P1 P1+P2 P1+P2+P3 น้ำมันดิบ (ล้านบาร์เรล) 232 653 930 55 4 12 17 คอนแดนเสท 217 501 600 33 7 15 18 ก๊าซธรรมชาติ (พันล้าน ล.บ.ฟุต) 9,039 18,612 23,283 1,462 6 13 16 หมายเหตุ : ปริมาณสำรอง P1 คือ Proved Reserves P2 คือ Probable Reserves และ P3 คือ Possible Reserves ปริมาณสำรองปิโตรเลียมของประเทศไทยรวมพื้นที่พัฒนาร่วมไทย-มาเลเซีย

8 น้ำมัน

9 รวมการจัดหาน้ำมันดิบ 962,848 บาร์เรล/วัน
สัดส่วนการจัดหาน้ำมันดิบ 14 % 15 % 15 % 12 % 7 % 22 % 2557* 7 % 8 % 7 % 7 % บาร์เรล/วัน 61 % 66 % 63 % 64 % 57 % 16 % 15 % 15 % 15 % 14 % ผลิตในประเทศ ตะวันออกกลาง ตะวันออกไกล แหล่งอื่นๆ รวมการจัดหาน้ำมันดิบ 962,848 บาร์เรล/วัน * เดือน ม.ค. – เม.ย.

10 การนำเข้าน้ำมันดิบแยกตามแหล่งผลิต
สหรัฐเอมิเรตส์ ซาอุดิอาระเบีย โอมาน กาตาร์ อื่นๆ (ตะวันออกกลาง) ตะวันออกกลาง มาเลเซีย อินโดนีเซีย บรูไน อื่นๆ (ตะวันออกไกล) ตะวันออกไกล 2557* สหภาพโซเวียต ออสเตรเลีย อื่นๆ (แหล่งอื่นๆ) แหล่งอื่นๆ การนำเข้าน้ำมันดิบ  9.4 % รวมนำเข้า 98,929 พันบาร์เรล หรือคิดเป็น 15,729 ล้านลิตร * เดือน ม.ค. – เม.ย.

11 รวมทั้งสิ้น 89,816 บาร์เรล/วัน
การผลิตคอนเดนเสท สัดส่วน การผลิตคอนเดนเสท อื่นๆ บงกช บาร์เรล/วัน 2557* อาทิตย์ ไพลิน เอราวัณ ฟูนานและจักรวาล รวมทั้งสิ้น 89,816 บาร์เรล/วัน การผลิตคอนเดนเสท  5.2 % * เดือน ม.ค. – เม.ย.

12 การใช้กำลังการกลั่นของประเทศ
Capacity Intake บาร์เรล/วัน ปี 2557* TOC BCP ESSO IRPC PTTAR SPRC RPC รวม สัดส่วนการใช้ กำลังการกลั่น (%) 111 82 84 77 128 83 - 94 * เดือน ม.ค. – เม.ย.

13 การผลิตน้ำมันสำเร็จรูป
สัดส่วน การผลิตน้ำมันสำเร็จรูป ดีเซล ล้านลิตร/วัน 2557* LPG เบนซิน เครื่องบิน น้ำมันเตา น้ำมันก๊าด รวมทั้งสิ้น 158 ล้านลิตร/วัน การผลิตน้ำมันสำเร็จรูป  2.1 % * เดือน ม.ค. – เม.ย.

14 การใช้น้ำมันสำเร็จรูป (ล้านลิตรต่อวัน)
การใช้น้ำมันสำเร็จรูป (ล้านลิตรต่อวัน) สัดส่วน การใช้น้ำมันสำเร็จรูป ดีเซล ล้านลิตร/วัน 2557* LPG เบนซิน เครื่องบิน น้ำมันก๊าด น้ำมันเตา รวมทั้งสิ้น 131 ล้านลิตร/วัน การใช้น้ำมันสำเร็จรูป  0.6 % * เดือน ม.ค. – เม.ย.

15 การใช้น้ำมันสำเร็จรูป (พันบาร์เรลต่อวัน)
การใช้น้ำมันสำเร็จรูป (พันบาร์เรลต่อวัน) สัดส่วน การใช้น้ำมันสำเร็จรูป ดีเซล พันบาร์เรล/วัน LPG 2557* เบนซิน เครื่องบิน น้ำมันเตา น้ำมันก๊าด รวมทั้งสิ้น 821 พันบาร์เรล/วัน การใช้น้ำมันสำเร็จรูป  0.6 % * เดือน ม.ค. – เม.ย.

16 การนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูป
สัดส่วน การนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูป LPG ล้านลิตร/วัน 2557* เบนซิน น้ำมันเตา ดีเซล เครื่องบิน รวมทั้งสิ้น 16 ล้านลิตร/วัน การนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูป  45.4 % * เดือน ม.ค. – เม.ย.

17 การส่งออกน้ำมันสำเร็จรูป
สัดส่วน การส่งออกน้ำมันสำเร็จรูป ดีเซล เบนซิน ล้านลิตร/วัน 2557* น้ำมันเตา เครื่องบิน น้ำมันก๊าด LPG รวมทั้งสิ้น 23 ล้านลิตร/วัน การส่งออกน้ำมันสำเร็จรูป  20.7% * เดือน ม.ค. – เม.ย.

18 การส่งออกน้ำมันสำเร็จรูปของไทยแยกรายประเทศ
สัดส่วนการส่งออก น้ำมันสำเร็จรูปรายประเทศ สิงคโปร์ มาเลเซีย ล้านลิตร/วัน 2557* จีน อื่นๆ** ลาว กัมพูชา อเมริกา พม่า ฮ่องกง เวียดนาม แอฟริกาใต้ ** อื่นๆ ได้แก่ อังกฤษ ออสเตรเลีย เกาหลี ไต้หวัน ฯลฯ 63 % ส่งออกสิงคโปร์ มาเลเซีย และจีน * เดือน ม.ค. – เม.ย.

19 รวมทั้งสิ้น 619 พันตัน/เดือน
อุปสงค์ของ LPG สัดส่วนการใช้ LPG ปิโตรเคมี ครัวเรือน พันตัน/เดือน 2557* รถยนต์ อุตสาหกรรม ใช้เอง รวมทั้งสิ้น 619 พันตัน/เดือน * เดือน ม.ค. – เม.ย. การใช้ LPG  1.7 % หมายเหตุ : 1. LPG หมายถึง LPG โพรเพน และบิวเทน 2. ใช้เอง หมายถึง ผู้ผลิตใช้เป็นเชื้อเพลิงในกระบวนการผลิตเอง

20 รวมทั้งสิ้น 654 พันตัน/เดือน
อุปทานของ LPG สัดส่วนการจัดหา LPG โรงแยกก๊าซ พันตัน/เดือน 2557* นำเข้า โรงกลั่นน้ำมัน รวมทั้งสิ้น 654 พันตัน/เดือน * เดือน ม.ค. – เม.ย. การจัดหา LPG  2.5 % หมายเหตุ : LPG หมายถึง LPG โพรเพน และบิวเทน

21 ก๊าซธรรมชาติ

22 การจัดหาก๊าซธรรมชาติ
สัดส่วนการจัดหาก๊าซธรรมชาติ ผลิตในประเทศ ล้านลูกบาศก์ฟุต/วัน (MMSCFD) 2557* นำเข้าจากพม่า นำเข้า LNG รวมทั้งสิ้น 5,021 MMSCFD การจัดหาก๊าซธรรมชาติ  1.3 % * เดือน ม.ค. – เม.ย.

23 การใช้ก๊าซธรรมชาติรายสาขา
สัดส่วน การใช้ก๊าซธรรมชาติรายสาขา ผลิตไฟฟ้า ล้านลูกบาศก์ฟุต/วัน (MMSCFD) 2557* โรงแยกก๊าซ อุตสาหกรรม NGV รวมทั้งสิ้น 4,467 MMSCFD การใช้ก๊าซธรรมชาติ  3.6 % * เดือน ม.ค. – เม.ย.

24 การใช้ NGV หน่วย : MMSCFD หน่วย : ตัน/วัน การใช้ NGV  4.9 % 2557 2557
2556 2556 2555 2555 2554 2554 2553 2553 การใช้ NGV  4.9 %

25 ถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์

26 ถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์
การจัดหาถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์ สัดส่วนการจัดหา ถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์ 43 % 50 % 48 % 48 % 49 % พันตัน 10 % 2557* 6 % 5 % 3 % 6 % 45 % 46 % 45 % 47 % 45 % 48 % 53 % รวมทั้งสิ้น 12,451 พันตัน * เดือน ม.ค. – เม.ย. การจัดหาถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์  28.7 % หมายเหตุ : อื่นๆ หมายถึง ลิกไนต์ของเหมืองเอกชน ภายในประเทศที่ไม่ใช่เหมืองแม่เมาะ

27 ถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์ พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ (KTOE)
การใช้ถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์ สัดส่วนการใช้ ถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์ 45 % 49 % 43 % 52 % 51 % พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ (KTOE) 2557* 57 % 55 % 51 % 39 % 48 % 49 % 61 % รวมทั้งสิ้น 5,145 KTOE การใช้ถ่านหินนำเข้า/ลิกไนต์  1.0 % * เดือน ม.ค. – เม.ย.

28 ไฟฟ้า

29 กำลังผลิตติดตั้งไฟฟ้า
ณ เดือนเมษายน 2557 * เดือนเมษายน 2557 7 % 7 % 7 % 5 % 7 % 10 % 7 % 7 % 11 % 7 % 39 % 38 % 38 % เมกะวัตต์ (MW) 39 % 38 % 2557* 46 % 45 % 49 % 48 % 44 % รวมทั้งสิ้น 33,379 MW กำลังผลิตติดตั้งไฟฟ้า  จากเดือนมีนาคม จำนวน 750 MW เนื่องจากโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมวังน้อยชุดที่ 4 กำลังผลิต 750 MW เข้าระบบในเดือนเมษายน

30 การผลิตไฟฟ้าจากเชื้อเพลิงชนิดต่างๆ
สัดส่วนการผลิตไฟฟ้า จากเชื้อเพลิงชนิดต่างๆ * เดือน ม.ค. – เม.ย. 6 % 7 % 4 % 7 % 18 % 20 % 20 % 20 % กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) 2557* 72 % 67 % 67 % 67 % 22 % 64 % รวมทั้งสิ้น 57,728 GWh การผลิตไฟฟ้า  2.5 % เนื่องจากการใช้ก๊าซธรรมชาติลดลง

31 การใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าของ กฟผ.
น้ำมันเตา ดีเซล ก๊าซธรรมชาติ ลิกไนต์ (ล้านลิตร) (ล้านลิตร) (MMSCFD) (ล้านตัน) * เดือน ม.ค. – เม.ย. การใช้น้ำมันเตาเพิ่มขึ้น เนื่องจากใช้ทดแทนช่วงพม่าหยุดจ่ายก๊าซธรรมชาติช่วงต้นปี การใช้ลิกไนต์เพิ่มขึ้น เนื่องจากโรงไฟฟ้าแม่เมาะเดินเครื่องกำลังการผลิตเต็มกำลังในช่วงฤดูร้อน

32 ความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุดสุทธิของระบบ กฟผ.
23 เม.ย เวลา น. 26,942 MW Peak  1.3 % 16 พ.ค เวลา 14:00 น. 26,598 MW 2557 2556 2555 เมกะวัตต์ (MW) 2554 2553 หมายเหตุ : ความต้องการพลังไฟฟ้าสูงสุดสุทธิของระบบ กฟผ. (Net Peak Generation Requirement) ไม่รวมที่ใช้ใน Station Service

33 กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh)
ปริมาณการใช้ไฟฟ้า สัดส่วนการใช้ไฟฟ้า PEA ( 5.6%) ( 2.4%) กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) 2557* MEA ( 0.3%) ลูกค้าตรง EGAT รวมทั้งประเทศ 52,885 GWh การใช้ไฟฟ้าทั้งประเทศ  1.9 % * เดือน ม.ค. – เม.ย.

34 การจำหน่ายไฟฟ้าจำแนกตามประเภทอัตราค่าไฟฟ้า
ปี 2557* ประเภท Growth (%) Share (%) บ้านอยู่อาศัย  4.2 22 กิจการขนาดเล็ก  3.7 11 กิจการขนาดกลาง  1.8 16 กิจการขนาดใหญ่  1.0 42 กิจการเฉพาะอย่าง  4.7 3 ส่วนราชการและองค์กรไม่แสวงหากำไร**  9.1 0.1 สูบน้ำการเกษตร  22.3 0.4 ไฟฟ้าชั่วคราว  2.6 0.8 อื่นๆ***  10.4 ลูกค้าตรง กฟผ.  2.4 1 * เดือน ม.ค. – เม.ย. กิจการขนาดใหญ่ กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) กิจการขนาดกลาง กิจการขนาดเล็ก บ้านอยู่อาศัย กิจการเฉพาะอย่าง ส่วนราชการฯ สูบน้ำการเกษตร ไฟฟ้าชั่วคราว อื่นๆ*** ลูกค้าตรง กฟผ. ** ตั้งแต่เดือน ต.ค เป็นต้นไป ผู้ใช้ไฟฟ้าที่เป็นหน่วยงานราชการจะถูกจัดเข้าประเภทกิจการขนาดเล็ก/กลาง/ใหญ่ แล้วแต่กรณี *** อื่นๆ ได้แก่ ประเภทไฟฟ้าสำรอง ประเภทที่สามารถงดจ่ายไฟฟ้าได้ และการใช้ไฟฟ้าที่ไม่คิดมูลค่า

35 ปริมาณการใช้ไฟฟ้ารายสาขา
* เดือน ม.ค. – เม.ย. ปี 2557* ประเภท Growth (%) Share (%) ครัวเรือน  4.2 22 กิจการขนาดเล็ก  3.7 11 ธุรกิจ  2.9 18 อุตสาหกรรม  0.5 45 ส่วนราชการและองค์กรไม่แสวงหากำไร**  9.1 0.1 เกษตรกรรม  22.3 0.4 ไฟฟ้าไม่คิดมูลค่า  6.2 1 อื่นๆ***  6.5 2 อุตสาหกรรม กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) ธุรกิจ กิจการขนาดเล็ก ครัวเรือน ส่วนราชการฯ สูบน้ำการเกษตร ไฟไม่คิดมูลค่า อื่นๆ** ** ตั้งแต่เดือน ต.ค เป็นต้นไป ผู้ใช้ไฟฟ้าที่เป็นหน่วยงานราชการจะถูกจัดเข้าประเภทธุรกิจ/กิจการขนาดเล็ก แล้วแต่กรณี *** อื่นๆ ได้แก่ ไฟฟ้าชั่วคราว และอื่นๆ

36 การจำหน่ายไฟฟ้าของกลุ่มอุตสาหกรรมที่สำคัญ
อาหาร เหล็กและโลหะพื้นฐาน อิเล็กทรอนิกส์ สิ่งทอ กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) ยานยนต์ พลาสติก ซีเมนต์ ยางและผลิตภัณฑ์ยาง การผลิตน้ำแข็ง เคมีภัณฑ์ ปี 2557* อาหาร เหล็กและโลหะพื้นฐาน สิ่งทอ อิเล็กทรอนิกส์ พลาสติก ยานยนต์ ซีเมนต์ เคมีภัณฑ์ ยางและผลิตภัณฑ์ยาง การผลิตน้ำแข็ง Growth (%)  2.1  1.8  0.8  9.1  2.5  6.0  5.3  3.9  0.2  13.8 * เดือน ม.ค. – เม.ย.

37 การจำหน่ายไฟฟ้าของกลุ่มธุรกิจที่สำคัญ
ห้างสรรพสินค้า โรงแรม อพาร์ทเมนต์ ขายปลีก อสังหาริมทรัพย์ กิกะวัตต์-ชั่วโมง (GWh) โรงพยาบาล ขายส่ง ก่อสร้าง สถาบันการเงิน ภัตตาคาร ปี 2557* ห้างสรรพสินค้า โรงแรม อพาร์ตเมนต์ และเกสต์เฮาส์ ขายปลีก อสังหาริมทรัพย์ โรงพยาบาล/สถานบริการทางการแพทย์ ขายส่ง สถาบันการเงิน ก่อสร้าง ภัตตาคารและไนต์คลับ Growth (%) 1.9 8.6 4.1 2.6 5.1 8.4 1.2 4.5  1.4 5.9 * เดือน ม.ค. – เม.ย.

38 มูลค่าพลังงาน

39 สัดส่วนมูลค่าการนำเข้าพลังงาน
8 % 8 % 9 % 8 % 10 % 8 % ล้านบาท 9 % 7 % 2557* 11 % 4 % 77 % 76% 79 % 79 % 14% 80 % 72% รวมนำเข้า 494,866 ล้านบาท มูลค่าการนำเข้าพลังงาน  5.4 % * เดือน ม.ค. – เม.ย.

40 สัดส่วนมูลค่าการส่งออกพลังงาน
1 % 1 % 2 % ล้านบาท 2 % 86 % 2557* 87 % 88 % 86% 93 % 13 % 12 % 10 % 12 % รวมส่งออก 103,170 ล้านบาท มูลค่าการส่งออกพลังงาน  12.3 % * เดือน ม.ค. – เม.ย.

41 การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย
มูลค่าการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย สัดส่วนมูลค่า การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย 6 % 6 % 6 % 7 % 5 % 4 % 7 % 25 % 3 % 24 % ล้านบาท 26 % 27% 2557* 62 % 63 % 24 % 61 % 61 % 64 % รวมทั้งสิ้น 726,716 ล้านบาท มูลค่าการใช้พลังงานขั้นสุดท้าย  1.9 % * เดือน ม.ค. – เม.ย.

42 การใช้น้ำมันสำเร็จรูป
มูลค่าการใช้น้ำมันสำเร็จรูป สัดส่วนมูลค่า การใช้น้ำมันสำเร็จรูป 11 % 11 % 11 % 11 % 11 % 9 % 5 % 9 % 9 % 5 % 14 % 9 % 16 % 5 % 16 % ล้านบาท 17 % 2557* 48 % 46 % 47 % 47% 23 % 22 % 23 % 23% 22 % 23 % รวมทั้งสิ้น 461,672 ล้านบาท มูลค่าการใช้น้ำมันสำเร็จรูป  3.3 % * เดือน ม.ค. – เม.ย.

43 เปรียบเทียบราคาพลังงาน
น้ำมันเตา * 750 บาท/ล้าน BTU 340 ก๊าซธรรมชาติ * ถ่านหินนำเข้า ** 94 *ราคาขายปลีกเฉลี่ย **เป็นราคาเฉลี่ยนำเข้าของไทย (CIF) ข้อมูลถึงเดือน เม.ย

44 ราคา LPG (Contract Price)
ดอลลาร์สหรัฐ/ตัน 800 *ราคาเฉลี่ย Propane : Butane ที่ อัตราส่วน 60:40 ข้อมูลถึงเดือน เม.ย

45 ราคาน้ำมันสำเร็จรูปตลาดสิงคโปร์
167.3 166.5 140.3 น้ำมันดีเซล 122.3 120.0 113.7 120.9 ดอลลาร์สหรัฐ/บาร์เรล น้ำมันก๊าด น้ำมันเบนซิน 90.5 น้ำมันเตา * *น้ำมันเตา 1500% Sulfur ข้อมูลถึงเดือน เม.ย


ดาวน์โหลด ppt สถานการณ์พลังงานไทย ม.ค. – เม.ย. 2557

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google