งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โดย สุทธิพงษ์ กาญจนเกษร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โดย สุทธิพงษ์ กาญจนเกษร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โดย สุทธิพงษ์ กาญจนเกษร
การทำพินัยกรรม โดย สุทธิพงษ์ กาญจนเกษร

2 มรดก ปพพ. มาตรา ๑๕๙๙ เมื่อบุคคลใดตายมรดกของบุคคลนั้น ตกทอดแก่ทายาท
ทายาทอาจเสียไปซึ่งสิทธิในมรดกได้ โดยบทบัญญัติแห่งประมวลกฎหมายนี้หรือกฎหมายอื่น

3 มาตรา ๑๖๐๓ กองมรดกย่อมตกแก่ทายาทโดยสิทธิตาม
กฎหมายหรือโดยพินัยกรรม ทายาทที่มีสิทธิตามกฎหมาย“ทายาทโดยธรรม” ทายาทที่มีสิทธิตามพินัยกรรม“ผู้รับพินัยกรรม” มาตรา ๑๖๐๘ เจ้ามรดกจะตัดทายาทโดยธรรมของตนคนใด มิให้รับมรดกก็ได้ แต่ด้วยแสดงเจตนาชัดแจ้ง โดยพินัยกรรม

4 ทายาทโดยธรรม มีหกลำดับ  และ ภายใต้บังคับ แห่ง  มาตรา ๑๖๓๐ วรรค ๒ แต่ละลำดับ มีสิทธิได้รับมรดก ก่อนหลัง ดังต่อไปนี้ คือ                     (๑) ผู้สืบสันดาน                     (๒) บิดามารดา                     (๓) พี่น้อง ร่วมบิดามารดา เดียวกัน                     (๔) พี่น้อง ร่วมบิดา หรือ ร่วมมารดา เดียวกัน                     (๕) ปู่ ย่า ตา ยาย                     (๖) ลุง ป้า น้า อา             คู่สมรสที่ยังมีชีวิตอยู่นั้น ก็เป็น ทายาทโดยธรรม ภายใต้บังคับของ บทบัญญัติพิเศษแห่ง มาตรา ๑๖๓๕

5 ผู้สูงอายุกับการทำพินัยกรรม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
ผู้สูงอายุกับการทำพินัยกรรม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

6 พินัยกรรม คือ การแสดงเจตนากำหนดการเผื่อตาย ที่จะยกทรัพย์สิน หรือ กิจการต่าง ๆ ซึ่งมีผลบังคับได้ตามกฎหมายของตน ให้ตกเป็นของบุคคลอื่น รวมถึงการให้บุคคลใดเข้ามาจัดการทรัพย์สินของตน เมื่อตนเองถึงแก่กรรม (ตาย) ไปแล้ว

7 พินัยกรรม มี ๕ แบบ ๑. พินัยกรรมแบบธรรมดา (ม. ๑๖๕๖) ๒
พินัยกรรม มี ๕ แบบ ๑. พินัยกรรมแบบธรรมดา (ม.๑๖๕๖) ๒. พินัยกรรมเขียนเองทั้งฉบับ (ม.๑๖๕๗) ๓. พินัยกรรมทำเป็นเอกสารฝ่ายเมือง (ม.๑๖๕๘) ๔. พินัยกรรมทำเป็นเอกสารลับ (ม.๑๖๖๐) ๕. พินัยกรรมทำด้วยวาจา (ม.๑๖๖๓)

8 ๑. พินัยกรรมแบบธรรมดา ๑. ๑ เป็นหนังสือ เขียน/พิมพ์ ไทยหรือต่างประเทศ ๑
๑. พินัยกรรมแบบธรรมดา ๑.๑ เป็นหนังสือ เขียน/พิมพ์ ไทยหรือต่างประเทศ ๑.๒ ลง วัน/เดือน/ปี ๑.๓ ลงลายมือชื่อ/พิมพ์ลายนิ้วมือ ไว้ต่อหน้าพยาน อย่างน้อย ๒ คน พยานลงลายมือชื่อได้อย่างเดียว ๑.๔ แก้ไข ขูด ลบ ตก เติม ให้ลงลายมือชื่อ/พิมพ์ ลายนิ้วมือ ต่อหน้าพยานสองคน พยานลงลายมือ ชื่อรับรอง

9 ๒. พินัยกรรมเขียนเองทั้งฉบับ ๒. ๑ เขียนเอง ภาษาไทย/ต่างประเทศ ๒
๒. พินัยกรรมเขียนเองทั้งฉบับ ๒.๑ เขียนเอง ภาษาไทย/ต่างประเทศ ๒.๒ ไม่ต้องมีพยาน ๒.๓ ลง วัน/เดือน/ปี และ ลายมือชื่อ ๒.๔ แก้ไข ขูด ลบ ตก เติม ลงลายมือชื่อกำกับ

10 ๓. พินัยกรรมทำเป็นเอกสารฝ่ายเมือง ๓
๓. พินัยกรรมทำเป็นเอกสารฝ่ายเมือง ๓.๑ ยื่นคำร้อง แจ้งข้อความต่อนายอำเภอ/ ผอ.เขต ต่อหน้าพยานอย่างน้อยสองคน ๓.๒ นายอำเภอ/ผอ.เขต จะจดและอ่านข้อความ ๓.๓ ข้อความถูกต้อง ลงลายมือชื่อ พร้อมพยาน ๓.๔ นายอำเภอ/ผอ.เขต ลงลายมือชื่อ วัน/เดือน/ปี ประทับตราตำแหน่ง

11 ๔. พินัยกรรมทำแบบเอกสารลับ ๔
๔. พินัยกรรมทำแบบเอกสารลับ ๔.๑ ข้อความเป็นพินัยกรรม ลงลายมือชื่อผู้ทำ ๔.๒ ผนึกพินัยกรรม ลงลายมือชื่อคาบรอยผนึก ๔.๓ นำพินัยกรรมที่ผนึก แสดงและให้ถ้อยคำต่อ นายอำเภอ/ผอ.เขต และพยานอย่างน้อย ๒ คน ๔.๔ นายอำเภอ/ผอ.เขต จดถ้อยคำ ลงวัน/เดือน/ปี ที่แสดง ประทับตราตำแหน่ง ลงลายมือชื่อ พร้อมด้วยพยานบนซอง

12 ๕. พินัยกรรมทำด้วยวาจา ๕.๑ มีพฤติการณ์พิเศษ เช่น ตกอยู่ในอันตราย ใกล้ตาย ภาวะโรคระบาด/สงคราม ๕.๒ แสดงเจตนาต่อหน้าพยานอย่างน้อย ๒ คน ๕.๓ พยานทั้งหมดแสดงตน แจ้งข้อความ วัน/เดือน/ปี สถานที่ พฤติการณ์พิเศษต่อ นายอำเภอ/ผอ.เขต โดยไม่ชักช้า ๕.๔ นายอำเภอ/ผอ.เขต จดข้อความ และพยานทั้งหมด ลงลายมือชื่อ

13 ผู้ไม่มีสิทธิทำพินัยกรรม ๑. บุคคลอายุน้อยกว่า ๑๕ ปีบริบูรณ์ ๒
ผู้ไม่มีสิทธิทำพินัยกรรม ๑. บุคคลอายุน้อยกว่า ๑๕ ปีบริบูรณ์ ๒. บุคคลซึ่งศาลมีคำสั่งให้เป็นบุคคล ไร้ความสามารถ หากทำ ผลคือพินัยกรรมเป็นโมฆะ

14 ข้อพึงระวังในการทำพินัยกรรม
๑. ไตร่ตรองให้รอบคอบ ๒. ไม่จำเป็นต้องยกทรัพย์สินให้กับทายาทตามกฎหมาย ๓. ทายาทอื่น ขอแบ่งทรัพย์มรดกที่ทำพินัยกรรมยกให้ ผู้อื่นไปแล้วไม่ได้ พินัยกรรม คือ การแสดงเจตนาของเจ้ามรดก ที่กฎหมายยอมรับและบังคับให้

15 ไม่ควรเสี่ยงทำเอง ประการสำคัญในการพินัยกรรม
เรื่องพินัยกรรมนั้นเป็นเรื่องของกฎหมาย ไม่ควรเสี่ยงทำเอง ควรจะไปอำเภอหรือเขต แสดงความประสงค์ทำพินัยกรรม ให้เจ้าหน้าที่ทำให้ เป็นวิธีปลอดภัยที่สุด

16 การเปลี่ยนแปลงหรือเพิกถอนพินัยกรรม ดำเนินการได้ตามวิธีการที่กฎหมายกำหนดไว้ และเป็นสิทธิของเราโดยตรง

17 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt โดย สุทธิพงษ์ กาญจนเกษร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google