งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โดย นายณรงค์ บุญโญ ผชช. เฉพาะด้านการพัฒนาระบบราชการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โดย นายณรงค์ บุญโญ ผชช. เฉพาะด้านการพัฒนาระบบราชการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ด้านการสอบทานกรณีพิเศษ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗
โดย นายณรงค์ บุญโญ ผชช. เฉพาะด้านการพัฒนาระบบราชการ รก. ผอ. กองส่งเสริมการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ

2 หัวข้อบรรยาย กรอบแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ กรณีพิเศษ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗ การสอบทานกรณีพิเศษการบูรณาการร่วมกัน ตามประเด็นสำคัญยุทธศาสตร์ประเทศ OTOP/AEC /ท่องเที่ยว ตามประเด็นร่วมให้ความสำคัญระหว่าง อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวง และ ค.ต.ป. ประจำกระทรวง

3 แนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗
การสอบทานกรณีพิเศษ การคัดเลือกโครงการ ของ ค.ต.ป. ประจำกระทรวง การคัดเลือกโครงการ ของ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด โครงการสำคัญตามยุทธศาสตร์กระทรวงในสามอันดับแรก ที่สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ประเทศที่ ค.ต.ป. กำหนด อย่างน้อย ๑ โครงการ โครงการสำคัญตามยุทธศาสตร์จังหวัด ที่สอดคล้องกับประเด็นยุทธศาสตร์ประเทศที่ ค.ต.ป. กำหนด อย่างน้อย ๑ โครงการ คัดเลือกยุทธศาสตร์และโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์กระทรวงที่มีความสำคัญสามอันดับแรก อย่างน้อย ๑ โครงการ โครงการภายใต้แผนปฏิบัติราชการประจำปีของกลุ่มจังหวัดและจังหวัดที่มีความสำคัญอยู่ในสามอันดับแรก อย่างน้อย ๑ โครงการ ร่วมกับ อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวง กำหนดประเด็นร่วมที่กลุ่มกระทรวงให้ความสำคัญ เพื่อให้ ค.ต.ป. ประจำกระทรวงคัดเลือกโครงการตามยุทธศาสตร์กระทรวงที่สอดคล้องกับประเด็นร่วมของกลุ่มกระทรวง อย่างน้อย ๑ โครงการ ให้ ค.ต.ป. ประจำกระทรวง และ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด คัดเลือกโครงการที่จะสอบทานกรณีพิเศษตามหลักเกณฑ์ที่ ค.ต.ป. กำหนด และ เสนอรายชื่อโครงการที่จะสอบทานกรณีพิเศษต่อ ค.ต.ป. ภายในพฤษภาคม ๒๕๕๗

4 ลักษณะโครงการที่คัดเลือกสอบทานกรณีพิเศษ
เป็นโครงการที่กระจายลงพื้นที่มากกว่าโครงการอื่นและส่งผลกระทบในวงกว้างต่อประชาชน เป็นโครงการที่อยู่ระหว่างดำเนินการในปีที่สอบทาน เป็นโครงการที่ได้รับงบประมาณสูงในการดำเนินงานเมื่อเทียบกับโครงการอื่น หรือโครงการที่มีลักษณะความเสี่ยงสูง เป็นโครงการที่มีการบูรณาการ หรือมีความร่วมมือกันระหว่างภาคส่วนต่าง ๆ 4

5 ค.ต.ป.ประจำกระทรวง อ.ค.ต.ป.กลุ่มกระทรวง
การสอบทานกรณีพิเศษ ประเด็นพิจารณา สอบทานประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ประหยัด และความโปร่งใสในการดำเนินโครงการ พิจารณาถึงความสอดคล้องเชื่อมโยงกันของยุทธศาสตร์ประเทศ ยุทธศาสตร์กระทรวง/จังหวัด และแผนงานโครงการ ที่สำคัญของกระทรวง/จังหวัดเพื่อการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ เพื่อให้ได้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะในการผลักดันและพัฒนาการดำเนินงาน/โครงการของกระทรวง/จังหวัดในเชิง นโยบาย เอกสารหลักฐานในการสอบทาน ค.ต.ป.ประจำกระทรวง อ.ค.ต.ป.กลุ่มกระทรวง อ.ค.ต.ป.กลุ่มจังหวัด ค.ต.ป. ประจำกระทรวงจะประสานขอข้อมูลโดยตรงกับส่วนราชการระดับกรมในงาน/โครงการที่ ค.ต.ป. ประจำกระทรวงพิจารณาเลือกสอบทาน ซึ่งจะครอบคลุมข้อมูล ดังนี้ รอบ ๖ เดือน แผนงานโครงการ คำรับรองการปฏิบัติราชการ (ในกรณีที่เป็นตัวชี้วัดในคำรับรองการปฏิบัติราชการ) รายงานความก้าวหน้าของการดำเนินงานที่เสนอหน่วยงานกลาง เช่น รายงานผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณต่อสำนักงบประมาณ รอบ ๑๒ เดือน อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดจะประสานขอข้อมูลโดยตรงกับส่วนราชการเจ้าของแผนงาน/โครงการที่ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดพิจารณาเลือกสอบทาน ซึ่งจะครอบคลุมข้อมูล ดังนี้ รอบ ๖ เดือน แผนงานโครงการ คำรับรองการปฏิบัติราชการ (ในกรณีที่เป็นตัวชี้วัดในคำรับรองการปฏิบัติราชการ) รายงานความก้าวหน้าของการดำเนินงานที่เสนอหน่วยงานกลาง เช่น รายงานผลการปฏิบัติงานและการใช้จ่ายงบประมาณต่อสำนักงบประมาณ รอบ ๑๒ เดือน

6 กรอบแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๗
(กรณีพิเศษ) รายงานผลการสอบทาน โครงการจากยุทธศาสตร์ประเทศ โครงการตามยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวง โครงการจากยุทธศาสตร์ประเทศ โครงการภาพรวมกลุ่มกระทรวง โครงการตาม ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด กลุ่มจังหวัด ค.ต.ป. พิจารณาเลือกยุทธศาสตร์ประเทศ ๓ ประเด็น ค.ต.ป. รายงานผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ โครงการจากยุทธศาสตร์ประเทศ โครงการภาพรวมกลุ่มกระทรวง โครงการตามยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด ๑. การท่องเที่ยว ๒. ผลิตภัณฑ์ OTOP ๓. การเข้าสู่ประชาคมอาเซียน โครงการภายใต้ยุทธศาสตร์กระทรวง ค.ร.ม. คัดเลือกโครงการสอบทาน กรณีพิเศษที่มีลักษณะ ดังนี้ เป็นโครงการที่กระจายลง พื้นที่มากกว่าโครงการอื่น และส่งผลกระทบในวง กว้างต่อประชาชน เป็นโครงการที่อยู่ระหว่าง ดำเนินการในปีที่สอบทาน เป็นโครงการที่ได้รับ งบประมาณสูงในการ ดำเนินงานเมื่อเทียบกับ โครงการอื่นหรือโครงการ ที่มีลักษณะความเสี่ยงสูง รายงานผลการสอบทาน ของ ค.ต.ป. ประจำกระทรวง โครงการจากยุทธศาสตร์ประเทศ โครงการภาพรวม กลุ่มกระทรวง โครงการภายใต้ยุทธศาสตร์กระทรวง อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวง รายงานผลการสอบทาน โครงการจากยุทธศาสตร์ประเทศ โครงการภาพรวม โครงการภายใต้ยุทธศาสตร์กระทรวง อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวง ค.ต.ป. ประจำกระทรวง หารือร่วมกันเพื่อกำหนดประเด็นร่วม

7 แนวทางการสอบทานกรณีพิเศษ โดยการบูรณาการร่วมกัน

8 การบูรณาการสอบทานกรณีพิเศษ ในการสอบทานกรณีพิเศษ
กรอบแนวคิด ในการสอบทานกรณีพิเศษ ให้มีการรายงานผลสัมฤทธิ์ของโครงการ สอบทานกรณีพิเศษ สามารถสะท้อนถึง ความสำเร็จของยุทธศาสตร์กระทรวงและ จังหวัด และยุทธศาสตร์ของประเทศได้ และ เพื่อให้ได้ข้อคิดเห็นที่มีพลังผลักดันการ พัฒนาในเชิงนโยบาย พัฒนากระบวนการรายงานการ สอบทานกรณีพิเศษโดยเน้นในเชิง ยุทธศาสตร์ให้มากยิ่งขึ้น คัดเลือกโครงการสำคัญภายใต้ ยุทธศาสตร์ ที่มีความสอดคล้อง เชื่อมโยงกันของยุทธศาสตร์ประเทศ ยุทธศาสตร์กระทรวงและจังหวัด บูรณาการการสอบทานกรณีพิเศษ ให้เป็นภาพรวมร่วมกัน ใช้แนวคิด Agenda Based ที่สอดคล้องกับนโยบายและยุทธศาสตร์ของรัฐบาลที่สำคัญและการบูรณาการการสอบทานกรณีพิเศษให้เป็นภาพรวมร่วมกันของกระทรวงและจังหวัด

9 ในการสอบทานกรณีพิเศษ เดิมแยกกันคัดเลือกโครงการในการสอบทานกรณีพิเศษ
การคัดเลือกโครงการ ในการสอบทานกรณีพิเศษ เดิมแยกกันคัดเลือกโครงการในการสอบทานกรณีพิเศษ ปัจจุบันเสนอบูรณาการการคัดเลือกโครงการ ในการสอบทานกรณีพิเศษร่วมกัน กระทรวง ก จังหวัด จังหวัด กระทรวง ข จังหวัด กระทรวง กระทรวง ค จังหวัด กระทรวง กระทรวง จังหวัด ก โครงการใน การสอบทานกรณีพิเศษ กระทรวง กระทรวง จังหวัด กระทรวง ช จังหวัด จังหวัด กระทรวง ซ

10 ประเด็นสำคัญในการสอบทานกรณีพิเศษ การสอบทานของส่วนราชการ
และจังหวัด การรายงานของ ค.ต.ป. เป็นการสอบทานที่ใช้แนวคิด Agenda Based ที่สอดคล้องกับนโยบายและ ยุทธศาสตร์ของรัฐบาลที่สำคัญ ทำให้รายงานกรณีพิเศษ มีเอกภาพใน การนำเสนอ โดยมีข้อเสนอในประเด็น สำคัญร่วมกัน ประเด็นที่จะคัดเลือกจะเป็นประเด็น สำคัญ ส่งเสริมการทำงานร่วมกันระหว่าง หน่วยงานให้ตรงประเด็น (Relevant)และ สามารถทำได้ (Doable) เน้นการวัดผลผลิตหรือผลลัพธ์ มุ่งเน้นการสอบทานในประเด็นที่มี ความสำคัญและเป็นภาพรวมร่วมกัน สร้างเอกภาพในการสอบทานและ การประสานความร่วมมือระหว่างกัน เพื่อให้ได้ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ที่มีพลังในการผลักดัน เพื่อ พัฒนาการดำเนินงานในเชิง นโยบาย ทำให้ทราบประเด็นที่ควรปิดช่องโหว่ ในการดำเนินงาน (Missing Link) ซึ่งจะทำให้รายงานมีความสมบูรณ์ ยิ่งขึ้น

11 การสอบทานกรณีพิเศษการบูรณาการร่วมกัน ตามประเด็นสำคัญยุทธศาสตร์ประเทศ
OTOP/AEC /ท่องเที่ยว

12 ด้านการท่องเที่ยว ด้าน AEC
มติ ค.ต.ป. ครั้งที่ ๒/๒๕๕๖ วันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๖ เห็นชอบกลไกและวิธีการดำเนินงานเพื่อบูรณาการโครงการการสอบทานกรณีพิเศษ เห็นควรให้แต่งตั้งคณะทำงานด้านการ บูรณาการโครงการภายใต้ยุทธศาสตร์ต่าง ๆ โดย กำหนดให้มีเจ้าภาพในการทำงานร่วมกัน รวม ๓ เรื่อง ได้แก่ การท่องเที่ยว OTOP และ AEC มอบหมายให้ อ.ค.ต.ป. เกี่ยวกับการกำหนดแนวทางฯ จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานด้าน การบูรณาการโครงการการสอบทานกรณีพิเศษภายใต้ยุทธศาสตร์ต่าง ๆ รวม ๓ คณะ ด้านการท่องเที่ยว (ประธาน อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านสังคม เป็นประธานคณะทำงาน ) ด้าน OTOP (ประธาน อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านความมั่นคงฯ เป็นประธานคณะทำงาน ) ด้าน AEC (ประธาน อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านเศรษฐกิจ เป็นประธานคณะทำงาน และประธาน อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงด้านบริหารฯ เป็นรองประธาน ฯ)

13 กลไกการดำเนินงานการบูรณาการสอบทานกรณีพิเศษ
คัดเลือกโครงการสอบทานกรณีพิเศษ คณะทำงานจัดประชุมร่วมเพื่อการสอบทานกรณีพิเศษ ดำเนินการสอบทานและประเมินผลโครงการ (แนวทางการประเมิน) การบูรณาการ ให้ข้อเสนอแนะ จัดส่งรายงานให้ ค.ต.ป. ค.ต.ป. ประจำกระทรวงและ อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัดคัดเลือกโครงการ สอบทาน อย่างน้อย ๑ โครงการจากนโยบาย การท่องเที่ยว OTOP AEC แจ้งชื่อ โครงการสอบทาน ต่อฝ่ายเลขานุการ ค.ต.ป. พ.ค. ๕๗ ๑) กำหนดวัตถุประสงค์ การสอบทาน กำหนดขอบเขตการ สอบทาน กำหนดแนวทางการ ประเมินผลโครงการ ร่วมกัน ประกอบด้วย พิจารณารายละเอียด ของโครงการที่จะสอบทาน และวิเคราะห์ประเด็นที่ สำคัญร่วมกัน พิจารณาวิธีการติดตาม การดำเนินงานโครงการใน พื้นที่ นำผลการสอบทาน และประเมินผลของแต่ ละโครงการที่เลือก สอบทานนโยบาย เดียวกันมาประชุม ร่วมกัน ร่วมกันพิจารณาให้ ข้อเสนอแนะเชิง นโยบายในภาพรวม (ระบุข้อเสนอและใน เชิงนโยบายและ ยุทธศาสตร์ที่มีพลัง เพื่อให้มีข้อสั่งการใน เชิงนโยบาย) จัดทำรายงานผล การสอบทานตาม รูปแบบที่กำหนด ๑) การประเมินแผนงาน ๒) การประเมินความเหมาะสมของโครงการ ๓) ติดตามการดำเนินงานในพื้นที่ และกำหนดให้ส่วนราชการ/จังหวัดที่เกี่ยวข้องจัดส่งข้อมูลความก้าวหน้าในการดำเนินงานไปยังผู้สอบทานเป็นรายไตรมาส ๔) การเปรียบเทียบผลงานกับแผนงานที่กำหนด ๕) วิเคราะห์ปัญหา/อุปสรรคที่เกิดขึ้น และคาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต ๖) วิเคราะห์โครงการในเชิงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความคุ้มค่าในการดำเนินโครงการ จัดส่งรายงาน ๑๒ เดือน (โดยจัดส่งตามกำหนด เวลาที่แนวทางการตรวจสอบฯ ปี ๒๕๕๗ กำหนด)

14 กลยุทธ์การพัฒนาภาพรวมทั้งระบบของ โครงการหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ OTOP

15

16

17 แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อการท่องเที่ยว พัฒนาและปรับปรุงระบบโลจิสติกส์ พัฒนาและปรับปรุงสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อการท่องเที่ยว พัฒนาโครงข่ายเส้นทางคมนาคมเชื่อมโยงประเทศเพื่อนบ้าน สร้างและพัฒนากลไกในการบริหารจัดการการท่องเที่ยว ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน และ อปท. ในการพัฒนาการท่องเที่ยว การส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคประชาชน และ อปท. ในการบริหารจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยว การพัฒนาและฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืน พัฒนายกระดับคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวใหม่ในเชิงกลุ่มพื้นที่ที่มีศักยภาพ การฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยว การยกระดับคุณภาพและมาตรฐาน ของแหล่งท่องเที่ยว ยุทธศาสตร์ตามแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ Title สร้าง+เผยแพร่ภาพลักษณ์การท่องเที่ยว สร้างสภาพแวดล้อมและพัฒนาระบบสนับสนุนการตลาด สร้างรายได้จากนักท่องเที่ยวต่างชาติ สร้างกระแสการรับรู้เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าด้านการท่องเที่ยว สร้างกระแสการเดินทางของนักท่องเที่ยวชาวไทย พัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ กิจกรรมหรือนวัตกรรม เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม ด้านการท่องเที่ยว เสริมสร้างโอกาสและแรงจูงใจ เพื่อพัฒนาการค้าและการลงทุน ด้านการท่องเที่ยว การพัฒนามาตรฐานสินค้าและบริการด้านการท่องเที่ยว การป้องกันและรักษาความปลอดภัยนักท่องเที่ยว การพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการท่องเที่ยว การพัฒนาสินค้า บริการและปัจจัยสนับสนุนการท่องเที่ยว การสร้างความเชื่อมั่นและส่งเสริมการท่องเที่ยว

18 การสอบทานกรณีพิเศษการบูรณาการร่วมกัน
ตามประเด็นให้ความสำคัญร่วมกันระหว่าง อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวง และ ค.ต.ป. ประจำกระทรวง

19 รมต. ค.ต.ป. อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวง ค.ต.ป. ประจำกระทรวง
ความสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่าง อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวงและ ค.ต.ป. ประจำกระทรวง รมต. ค.ต.ป. อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวง ค.ต.ป. ประจำกระทรวง กำหนดนโยบายด้านการตรวจสอบและ ประเมินผลของกลุ่มกระทรวง กระทรวง หรือ ส่วนราชการไม่สังกัดฯ ให้สอดคล้องกับ นโยบายและแนวทางการตรวจสอบที่ ค.ต.ป. กำหนด กำหนดประเด็นหัวข้อการตรวจสอบและ ประเมินผลในระดับกลุ่มกระทรวง กระทรวง หรือส่วนราชการไม่สังกัดฯ ตามที่ เห็นสมควร รวบรวม วิเคราะห์ และสรุปผลเป็นภาพรวม ของกลุ่มกระทรวง จัดทำรายงานผล การตรวจสอบฯ ตามที่ ค.ต.ป. กำหนด กำกับดูแลระบบการตรวจสอบและประเมินผล ของกระทรวงและหน่วยงานในสังกัดให้เป็นไป ตามมาตรฐานที่ ค.ต.ป. กำหนด สอบทาน ติดตาม และประเมินผลการปรับปรุง ประสิทธิภาพและประสิทธิผล และเสนอแนะ แนวทางแก้ไข สอบทานรายงานผลการดำเนินงาน และ รายงานผลสถานะการเงินของกระทรวงและ หน่วยงานในสังกัด รายงานผลการปฏิบัติงานของ ค.ต.ป.ประจำ กระทรวงให้รัฐมนตรีพร้อมสำเนาให้ ปลัดกระทรวง และ ค.ต.ป.

20 แนวทางการดำเนินงานสอบทานกรณีพิเศษในประเด็นร่วม
ระหว่างอ.ค.ต.ป.กลุ่มกระทรวงและค.ต.ป.ประจำกระทรวง อ.ค.ต.ป. กลุ่มกระทรวง ร่วมกับ ค.ต.ป.ประจำ กระทรวงกำหนดประเด็น ร่วมที่กลุ่มกระทรวงให้ ความสำคัญ ร่วมพิจารณาวัตถุประสงค์/ ขอบเขตการสอบทาน กำหนดแนวทางการ ดำเนินงานร่วมกัน คัดเลือกโครงการสอบทาน และพิจารณารายละเอียด ของโครงการที่จะสอบทาน และประเด็นที่สำคัญร่วมกัน กำหนดประเด็นที่ให้ความสำคัญ และแนวทางการดำเนินงานร่วมกัน พิจารณาผลการสอบทานและ ให้ข้อเสนอแนะร่วมกัน นำผลการสอบทานและ ประเมินผลของแต่ละโครงการ ตามประเด็นร่วมที่กลุ่ม กระทรวงให้ความสำคัญ มาร่วมกันพิจารณา พิจารณาให้ข้อเสนอแนะเชิง นโยบายในภาพรวม จัดทำรายงานผลการสอบทาน แนวทางการประเมินเพื่อสอบทานและ ประเมินผลโครงการ การประเมินแผนงาน ประเมินความเหมาะสมของโครงการ ติดตามการดำเนินงานในพื้นที่หรือให้ ส่วนราชการรายงานความก้าวหน้า การดำเนินงานให้ผู้สอบทาน การเปรียบเทียบผลงานกับแผนงานที่ กำหนด วิเคราะห์ปัญหา/อุปสรรคที่เกิดขึ้น และคาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต วิเคราะห์โครงการในเชิงประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และความคุ้มค่าในการ ดำเนินโครงการ

21 รูปแบบการจัดทำรายงาน ผลการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการกรณีพิเศษ

22 รูปแบบการจัดทำรายงานผลการสอบทานกรณีพิเศษ
ของ ค.ต.ป. ประจำกระทรวง/อ.ค.ต.ป.กลุ่มกระทรวง/อ.ค.ต.ป. กลุ่มจังหวัด ส่วนที่ ๑ บทสรุปสำหรับผู้บริหาร ๑.๑ วัตถุประสงค์ของการสอบทาน ๑.๒ ขอบเขตของการสอบทาน ๑.๓ ขั้นตอนการสอบทาน ๑.๔ ผลการสอบทานโดยสรุป ส่วนที่ ๒ ผลการดำเนินงาน ๕) การวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการ (๕.๑) ประเมินแผนงาน (๕.๒) ความเหมาะสมโครงการ (๕.๓) ติดตามการดำเนินงานในพื้นที่/ความก้าวหน้าในการดำเนินงานรายไตรมาส (๕.๔) เปรียบเทียบผลงานกับแผนกำหนด (๕.๕) ปัญหา/อุปสรรคที่เกิดขึ้น ๖) ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความคุ้มค่า ผลกระทบ ๗) ความสอดคล้อง เชื่อมโยงยุทธศาสตร์ ๘) การสะท้อน/ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ๙) ผลการสอบทาน ส่วนที่ ๒ ผลการดำเนินงาน ๒.๑ วัตถุประสงค์การสอบทาน ๒.๒ ขอบเขตของการสอบทาน ๒.๓ การปฏิบัติงานสอบทาน ๑) การคัดเลือกยุทธศาสตร์/โครงการ ๒) คุณสมบัติ/รายละเอียดโครงการ ๓) การติดตามการดำเนินงานในพื้นที่ ๔) การสอบทานการดำเนินงาน โครงการ ส่วนที่ ๓ ข้อค้นพบและข้อเสนอแนะ

23 รูปแบบการจัดทำรายงานการตรวจสอบและประเมินผลกรณีพิเศษ: การบูรณาการร่วมกันตามประเด็นสำคัญยุทธศาสตร์
รูปแบบรายงาน ประกอบด้วยรายละเอียด ดังนี้ ๑. หลักการ และเหตุผลตามประเด็นยุทธศาสตร์ ๒. วัตถุประสงค์ตามประเด็นยุทธศาสตร์ ๓. ขอบเขต และวิธีการสอบทาน ๔. สรุปผลการสอบทานโครงการตามประเด็นยุทธศาสตร์ ๕. ผลสัมฤทธิ์ของโครงการในการบรรลุวัตถุประสงค์ของยุทธศาสตร์ของประเทศ ๖. ข้อค้นพบ/ข้อสังเกต ๗. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อให้มีข้อสั่งการในเชิงนโยบาย ในรายงานผลการดำเนินงาน ควรมีการรายงานปัญหา อุปสรรค แนวทางแก้ไข และระบุสิ่งที่ต้องการการสนับสนุนจากผู้บริหารระดับนโยบายให้ชัดเจน เพื่อจะได้นำมาประมวลและมีข้อเสนอเชิงนโยบาย ในแต่ละยุทธศาสตร์ ที่มา - ข้อสรุปจากการประชุม เรื่อง การสอบทานกรณีพิเศษ ตามแนวทางการตรวจสอบและประเมินผลภาคราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ เมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๖ - ที่ประชุม ค.ต.ป. ในการประชุมครั้งที่ ๒/๕๖ เมื่อ ๒๔ มิ.ย. ๕๖ และ อ.ค.ต.ป. เกี่ยวกับการกำหนดแนวทางฯ ครั้งที่ ๕/๕๖ เมื่อ ๑๒ ก.ค. ๕๖ เห็นชอบด้วยแล้ว

24 ขอขอบคุณทุกท่าน สามารถดาวน์โหลดเอกสารประกอบการบรรยายได้ที่
เว็บไซต์ของสำนักงาน ก.พ.ร. ที่ หัวข้อ เอกสารและสื่อ หรือที่ หัวข้อ เอกสารดาวโหลด


ดาวน์โหลด ppt โดย นายณรงค์ บุญโญ ผชช. เฉพาะด้านการพัฒนาระบบราชการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google