งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน

2 การพัฒนาระบบราชการไทย (ตามมติ ค.ร.ม. เมื่อวันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๔๖)
แผนยุทธศาสตร์ การพัฒนาระบบราชการไทย พ.ศ. ๒๕๔๖ - ๒๕๕๐ (ตามมติ ค.ร.ม. เมื่อวันที่ ๑๙ พฤษภาคม ๒๕๔๖)

3 (ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์)
วิสัยทัศน์ เป้าประสงค์หลัก (ผลลัพธ์ที่พึงประสงค์) ยุทธศาสตร์ ยุทธศาสตร์ที่ ๑ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ ยุทธศาสตร์ที่ ๔ ยุทธศาสตร์ที่ ๕ ยุทธศาสตร์ที่ ๖ ยุทธศาสตร์ที่ ๗ ยุทธศาสตร์ที่ ๒ พัฒนาระบบราชการ ไทยให้มีความเป็นเลิศ สามารถรองรับกับการ พัฒนาประเทศในยุค โลกาภิวัตน์โดยยึด หลักธรรมาภิบาล และประโยชน์สุข ของประชาชน ๑. พัฒนาคุณภาพการให้ บริการประชาชนที่ดีขึ้น ๒. ปรับบทบาทภารกิจ และ ขนาดให้มีความเหมาะสม ๓. ยกระดับขีดความสามารถและ มาตรฐานการทำงานให้อยู่ใน ระดับสูงและเทียบเท่าเกณฑ์ สากล ๔. ตอบสนองต่อการบริหาร ปกครองในระบอบประชาธิปไตย

4 เน้นการร่วมบริหารเชิงบูรณาการโดยมีกลไกประสานการทำงานร่วมกัน
ยุทธศาสตร์ ๒ : การปรับปรุงโครงสร้างการบริหารราชการแผ่นดิน เน้นการร่วมบริหารเชิงบูรณาการโดยมีกลไกประสานการทำงานร่วมกัน ทบทวนการจัดโครงสร้างให้มีความเหมาะสมมากขึ้น วางยุทธศาสตร์การพัฒนาเขตพื้นที่ในเชิงบูรณาการและการจัดสรรทรัพยากรในลักษณะแบบอิงพื้นที่ จัดระเบียบความสัมพันธ์ระหว่างการบริหารราชการ ในระดับต่าง ๆ

5 ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. ๒๕๔๖ - ๒๕๕๐)
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. ๒๕๔๖ - ๒๕๕๐) - การบริหารงานแบบบูรณาการ การจัดโครงสร้างภายในส่วนราชการที่มี ความยืดหยุ่นและส่วนราชการสามารถจัดโครงสร้างภายในได้เอง

6 ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. ๒๕๔๖ - ๒๕๕๐)
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. ๒๕๔๖ - ๒๕๕๐) - หน่วยงานส่วนกลางให้มีขนาดเล็กลง มุ่งเน้นงานนโยบาย การกำหนดมาตรฐาน สนับสนุนงานวิชาการและติดตามประเมินผล ส่วนภารกิจในเชิงปฏิบัติการให้เป็นหน้าที่ของหน่วยงานภูมิภาค

7 ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. ๒๕๔๖ - ๒๕๕๐)
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการไทย (พ.ศ. ๒๕๔๖ - ๒๕๕๐) - พัฒนาจังหวัดให้มีความเข้มแข็งสามารถนำวาระ แห่งชาติไปปฏิบัติได้ และเป็นตัวแทนของรัฐบาล ที่เป็นศูนย์รวมกิจกรรมของกระทรวงต่าง ๆ ไว้ด้วยกัน โดยมีการบริหารงานแบบบูรณาการและพัฒนาอำเภอให้เป็นศูนย์รวมการให้บริการประชาชน

8 การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน
ราชการส่วนกลาง ราชการส่วนภูมิภาค ราชการส่วนท้องถิ่น

9 การจัดระเบียบราชการส่วนกลาง
๑. ยกเลิกความเป็นนิติบุคคลของกรม ๒. ส่วนราชการมีได้หลายรูปแบบ ๓. การบริหารงานที่มีความคล่องตัว หลักการ

10 การจัดระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
๑. โครงสร้างของส่วนราชการในสำนักนายกรัฐมนตรี (๑) สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี (๒) สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี (๓) ศูนย์ประสานการบริหารราชการแผ่นดิน (๔) ส่วนราชการอื่นที่เป็นหน่วยงานกลางในการบริหาร ราชการแผ่นดิน

11 การจัดระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
๒. การบริหารราชการในสำนักนายกรัฐมนตรี (๑) ส่วนราชการมีฐานะเป็นเป็นกรม แต่ไม่เป็นนิติบุคคล (๒) การแบ่งส่วนงานภายในให้เป็นอำนาจของแต่ละ ส่วนราชการที่จะแบ่งส่วนงานภายในให้สอดคล้อง กับภารกิจ (๓) การโอนงานจากส่วนราชการหนึ่งไปยังอีกส่วนราชการหนึ่ง (๔) การกำหนดบุคลากรตามความเหมาะสมของส่วนราชการ (๕) การกำหนดอำนาจกระทำการแทนสำนักนายกรัฐมนตรี

12 การจัดระเบียบราชการในกระทรวง
๑. โครงสร้างของส่วนราชการในกระทรวง (๑) สำนักงานรัฐมนตรี (๒) สำนักงานปลัดกระทรวง (๓) กลุ่มภารกิจ (๔) กรมและส่วนราชการอื่น

13 การจัดระเบียบราชการในกระทรวง
๒. การบริหารราชการในกระทรวง (๑) ส่วนราชการมีฐานะเป็นเป็นกรม แต่ไม่เป็นนิติบุคคล (๒) การแบ่งส่วนงานภายใน (๓) การโอนงานจากส่วนราชการหนึ่งไปยังอีก ส่วนราชการหนึ่ง (๔) การกำหนดบุคลากร (๕) ส่วนราชการในเขตพื้นที่จังหวัดเป็นราชการส่วนภูมิภาค (๖) การบริหารราชการของกลุ่มภารกิจ (๗) การกำหนดอำนาจกระทำการแทนกระทรวง

14 การจัดระเบียบราชการในทบวง
๑. รูปแบบ เปลี่ยนแนวคิดใหม่ ไม่ใช่เป็นทบวงในกระทรวง เป็นส่วนราชการในระดับเดียวกับกระทรวง แต่มีภารกิจเฉพาะที่ไม่อาจบริหารงานแบบ กระทรวง ปฏิบัติหน้าที่ตามภารกิจเฉพาะเรื่อง มีวิธีการบริหารรูปแบบพิเศษ

15 ๒. การแบ่งส่วนภายใน มีเฉพาะ
๒. การแบ่งส่วนภายใน มีเฉพาะ สำนักงานรัฐมนตรี สำนักงานปลัดทบวง ๓. การบริหารงาน มีรัฐมนตรีว่าการทบวง (แต่ ค.ร.ม. อาจมอบหมายให้ รองนายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรีอื่นเป็นรัฐมนตรีว่าการ ทบวงด้วย ก็ได้ ปลัดทบวง มีฐานะเดียวกับปลัดกระทรวง ผู้ปฏิบัติงานอาจเป็นข้าราชการหรือบุคลากรตาม สัญญาจ้างก็ได้

16 ๔. โครงสร้างทบวง ให้เป็นไปตามที่กำหนดใน พระราชกฤษฎีกา

17 หน่วยงานรูปแบบพิเศษ ๑. สำนักงานชำนัญพิเศษ วิธีการจัดตั้ง
ลักษณะการจัดตั้ง เป็นภารกิจเฉพาะซึ่งจำเป็นต้องปฏิบัติงานโดยกลุ่ม บุคคลที่มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน เป็นภารกิจที่ต้องปฏิบัติงานตามเป้าหมายและ ระยะเวลากำหนด วิธีการจัดตั้ง จัดตั้งได้ตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกำหนด

18 การบริหารงาน เป็นไปตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกำหนด จะไม่ทำหน้าที่เป็นผู้ปฏิบัติ แต่จะเป็นผู้ซื้อบริการ (purchaser) จากส่วนราชการ หรือหน่วยงานของรัฐอื่น (service provider)

19 ๒. หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ (S.D.U.)
หน่วยงานมีขีดความสามารถที่จะปฏิบัติหน้าที่ ให้แก่ - ส่วนราชการต้นสังกัด - ส่วนราชการหรือหน่วยงานของรัฐแห่งอื่น มติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ ๒๐ มกราคม ๒๕๔๗ เห็นชอบ ในหลักการและแนวทางการจัดโครงสร้างองค์กรรูปแบบ อื่นที่ไม่ใช่ส่วนราชการ : หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ และ ให้นำไปทดลองปฏิบัติใน ๕ หน่วยงาน - สำนักกษาปณ์ กรมธนารักษ์ - กองโรงพิมพ์ สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี - สถาบันส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี สำนักงาน ก.พ.ร. ๒. หน่วยบริการรูปแบบพิเศษ (S.D.U.)

20 - งานด้านศิลปะวัฒนธรรม พิพิธภัณฑ์
(อยู่ระหว่างการคัดเลือกส่วนราชการที่เหมาะสม) - ห้องปฏิบัติการ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารงาน ของหน่วยบริการรูปแบบพิเศษ พ.ศ. ๒๕๔๘

21 การปฏิบัติราชการแทนและการรักษาราชการแทน
๑. การปฏิบัติราชการแทน - กำหนดให้ส่วนราชการสามารถมอบอำนาจให้ได้ทุกเรื่อง และทุกตำแหน่ง - ผู้รับมอบอำนาจสามารถมอบอำนาจต่อให้บุคคลอื่นได้ - มอบอำนาจได้ทั้งในส่วนราชการเดียวกันและ ต่างส่วนราชการ - มอบอำนาจแก่ผู้ปฏิบัติงานในศูนย์บริการร่วม - ผู้มอบอำนาจมีหน้าที่ติดตามผล

22 การปฏิบัติราชการแทนและการรักษาราชการแทน
๒. การรักษาราชการแทน - กำหนดในกฎหมายเฉพาะตำแหน่งที่จะมีอำนาจกระทำการผูกพันกระทรวง คือ รัฐมนตรี และปลัดกระทรวง - การรักษาราชการแทนกรณีอื่นให้เป็นไปตามที่คณะรัฐมนตรีกำหนด

23 การจัดระเบียบราชการส่วนภูมิภาค
หลักการ ๑. การกำหนดให้จังหวัดเป็นนิติบุคคล ๒. การบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการ ๓. อำเภอเป็นหน่วยบริการในพื้นที่

24 จังหวัด ๑. โครงสร้างของจังหวัด
(๑) กำหนดให้จังหวัดเป็นเขตพื้นที่ซึ่งเป็นศูนย์รวม ของส่วนราชการทุกแห่งที่ปฏิบัติงานในเขตพื้นที่ (๒) โครงสร้างการบริหารของจังหวัด ประกอบด้วย ๑. สำนักงานจังหวัด ๒. ส่วนราชการประจำจังหวัด ๓. กลุ่มภารกิจของจังหวัด ๔. หน่วยบริการของจังหวัด ๕. กลุ่มจังหวัด

25 ๒. การบริหารราชการของจังหวัด
(๑) ผู้ว่าราชการจังหวัด (๒) การบริหารงานโดยมียุทธศาสตร์จังหวัด (๓) การงบประมาณ (๔) การบริหารงานบุคคล (๕) การใช้อำนาจตามกฎหมาย (๖) การกระทำกิจการผูกพันจังหวัด (๗) การบริหารงานแบบกลุ่มจังหวัด

26 อำเภอ ๑. โครงสร้างของอำเภอ (๑) บทบาทของอำเภอ
๑. เป็นหน่วยงานปฏิบัติการตามแผนยุทธศาสตร์ จังหวัด ๒. เป็นศูนย์กลางการให้บริการต่อประชาชน

27 (๒) โครงสร้างการบริหารของอำเภอ
ประกอบด้วย ๑. สำนักงานอำเภอ ประกอบด้วย - นายอำเภอ - ผู้แทนส่วนราชการที่ปฏิบัติงาน ในอำเภอ ๒. หน่วยบริการประจำพื้นที่

28 ๒. การบริหารราชการของอำเภอ
(๑) นายอำเภอ (๒) การบริหารงานระหว่างนายอำเภอ กับส่วนราชการ (๓) การใช้อำนาจตามกฎหมาย (๔) การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท


ดาวน์โหลด ppt หลักการสำคัญ ในการปรับปรุงกฎหมาย ว่าด้วยระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google