งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เงินงบประมาณจังหวัดสตูล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เงินงบประมาณจังหวัดสตูล"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เงินงบประมาณจังหวัดสตูล
รายงานผลการเบิกจ่าย เงินงบประมาณจังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

2 การเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนสะสม ณ สิ้นไตรมาส การเบิกจ่ายรายจ่ายภาพรวมสะสม
เป้าหมายการเบิกจ่ายปีงบประมาณ พ.ศ.2553 (มติ ครม.เมื่อวันที่ 29 กันยายน 2552) ไตรมาสที่ เป้าหมายอัตรา การเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนสะสม ณ สิ้นไตรมาส (%) การเบิกจ่ายรายจ่ายภาพรวมสะสม ณ สิ้นไตรมาส 1 12.00 20.00 2 33.00 43.00 3 56.00 68.00 4 75.00 94.00

3 สรุปผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณจังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553
ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553 (หน่วย : ล้านบาท) งบประมาณ เบิกจ่าย ร้อยละ รายจ่ายประจำ 2,497.56 2,422.22 96.98 รายจ่ายลงทุน 1,148.24 1,023.01 89.09 ภาพรวม 3,645.80 3,445.23 ที่มา : ข้อมูลจากระบบ GFMIS ถึง วันที่ 24 ก.ย 94.50

4 ผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณจังหวัด (33.75 ล้านบาท)
( ล้านบาท) ที่มา : ข้อมูลจากระบบ GFMIS ถึง วันที่ 24 ก.ย (หน่วย : ล้านบาท) งบประมาณ เบิกจ่าย ร้อยละ 33.75 24.28 71.94

5 เป้าหมายการเบิกจ่ายเงินงบไทยเข้มแข็ง(TKK) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553
(มติ ครม. เมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายน 2552)ไม่น้อยกว่า ร้อยละ ของวงเงินตามแผนที่ได้รับอนุมัติให้ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

6 ผลการเบิกจ่ายเงินงบไทยเข้มแข็งจังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553
ผลการเบิกจ่ายเงินงบไทยเข้มแข็งจังหวัดสตูล ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2553 (หน่วย : ล้านบาท) งบประมาณ เบิกจ่าย ร้อยละ รายจ่ายประจำ 623.03 345.40 55.44 รายจ่ายลงทุน 1,048.56 743.69 70.92 ภาพรวม 1,671.59 1,089.09 65.15 ที่มา : ข้อมูลจากระบบ GFMIS ถึง วันที่ 24 ก.ย

7 โครงการแก้ไขปัญหาหนี้สินภาคประชาชน (หนี้นอกระบบ)

8 รายงานผลการดำเนินงานของจังหวัดสตูล
(หน่วย : ล้านบาท) จำนวนลูกหนี้(คน) คิดเป็นร้อยละ มูลหนี้ จำนวนลูกหนี้ทั้งหมด 4,197 100.00 472.09 เจรจาสำเร็จ 2,186 52.08 230.14 เจรจาไม่สำเร็จ 772 18.40 85.16 ยุติเรื่อง 1,089 25.95 121.96 คงเหลือ 150 3.57 34.84 กู้ได้ รายเป็นเงิน ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ ของการเจรจาสำเร็จ ที่มา : ข้อมูล ณ วันที่ 28 ก.ย

9 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดสตูล Gross Provincial Product of Satun
ปี พ.ศ.2551 Gross Provincial Product of Satun

10 กราฟแสดงโครงสร้างการผลิตรายสาขาปี 2551
โครงสร้างผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดสตูล ในปี พิจารณาจากสัดส่วนมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาประจำปีของจังหวัดสตูล ประกอบด้วยภาคการผลิตที่สำคัญ ได้แก่ สาขาเกษตรกรรมฯ มีสัดส่วนร้อยละ สาขาประมง มีสัดส่วนร้อยละ สาขาอุตสาหกรรมมีสัดส่วนร้อยละ และอื่นๆ รวมกัน มีสัดส่วนร้อยละ

11 มูลค่าเพิ่ม(ล้านบาท)
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดสตูล(GPP) มูลค่าเพิ่ม(ล้านบาท) อัตราการขยายตัว โครงสร้าง 2548 2549 2550 2551 มูลค่าเพิ่ม ณ ราคาประจำปี ภาคเกษตร 7,949.99 9,433.33 9,717.30 9,517.48 18.66 3.01 -2.06 44.92 50.87 50.02 49.49 ภาคนอกเกษตร 9,746.51 9,110.14 9,711.29 9,713.96 -6.53 6.6 0.03 55.08 49.13 49.98 50.51 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด(GPP) 17,696.50 18,543.47 19,428.58 19,231.44 4.79 4.77 -1.01 100 รายได้ต่อหัว 65,058 67,190 69,359 68,655 3.28 3.23 -2.37 ประชากร(1,000 คน) 272 276 280 284 มูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ 6,199.64 10,151.13 9,095.25 8,590.88 63.74 -10.4 -5.55 42.88 55.57 52.71 52.03 8,257.91 8,115.58 8,160.40 7,920.02 -1.72 0.55 -2.95 57.12 44.43 47.29 47.97 14,457.55 18,266.71 17,255.65 16,510.91 26.35 -5.53 -4.32 19,231.44 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดสตูล ปี 2551 พิจารณาจาก ณ ราคาประจำปี มีมูลค่า เท่ากับ 19, ล้านบาท ลดลงจาก 19, ล้านบาท ในปีที่ผ่านมา ล้านบาท หากพิจารณาจากอัตราการขยายตัวของมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ หดตัว ร้อยละ 4.32 จากการหดตัวร้อยละ ในปีที่ผ่านมา เป็นผลมาจากการหดตัวของภาคเกษตรในอัตราร้อยละ ขณะที่ภาคนอกเกษตรหดตัวในอัตราร้อยละ 2.95 -4.32

12 มูลค่าเพิ่ม ณ ราคาประจำปี

13 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดสตูล(GPP)
สาขาการผลิต มูลค่าเพิ่ม(ล้านบาท) อัตราการขยายตัว โครงสร้าง 2548 2549 2550 2551 ภาคเกษตร 7,949.99 9,433.33 9,717.30 9,517.48 18.66 3.01 -2.06 44.92 50.87 50.02 49.49 เกษตรกรรม การล่าสัตว์ 5,762.75 7,146.35 7,226.05 6,539.07 24.01 1.12 -9.51 32.56 38.54 37.19 34.00 การประมง 2,187.24 2,286.99 2,491.25 2,978.41 4.56 8.93 19.55 12.36 12.33 12.82 15.49 ภาคนอกเกษตร 9,746.51 9,110.14 9,711.29 9,713.96 -6.53 6.60 0.03 55.08 49.13 49.98 50.51 การเหมืองแร่และเหมืองหิน 26.32 46.53 59.63 12.90 76.80 28.15 -78.36 0.15 0.25 0.31 0.07 การผลิตอุตสาหกรรม 1,132.55 1,615.66 1,670.15 1,818.66 42.66 3.37 8.89 6.40 8.71 8.60 9.46 การไฟฟ้า ก๊าซและประปา 217.16 232.98 260.68 279.10 7.29 11.89 7.07 1.23 1.26 1.34 1.45 การก่อสร้าง 419.23 538.83 525.20 514.82 28.53 -2.53 -1.97 2.37 2.91 2.70 2.68 การขายส่ง การขายปลีก ฯ 1,360.71 1,246.41 1,594.48 1,287.21 -8.40 27.93 -19.27 7.69 6.72 8.21 6.69 โรงแรมและภัตตาคาร 2,130.63 267.12 288.07 331.32 -87.46 7.84 15.01 12.04 1.44 1.48 1.72 การขนส่ง สถานที่เก็บสินค้าฯ 373.40 463.76 485.25 24.20 4.64 0.00 2.11 2.50 2.52 ตัวกลางทางการเงิน 380.40 424.73 492.36 536.35 11.65 15.92 8.94 2.15 2.29 2.53 2.79 บริการด้านอสังหาริมทรัพย์ฯ 1,278.54 1,442.45 1,301.73 1,231.31 -9.76 -5.41 7.22 7.78 6.70 การบริหารราชการแผ่นดิน ฯ 1,032.69 1,228.00 1,307.09 1,361.16 18.91 6.44 4.14 5.84 6.62 6.73 7.08 การศึกษา 961.22 1,122.48 1,182.44 1,266.65 16.78 5.34 7.12 5.43 6.05 6.09 6.59 การบริการด้านสุขภาพฯ 339.86 380.46 404.61 441.93 11.95 6.35 9.22 1.92 2.05 2.08 2.30 การให้บริการด้านชุมชนฯ 81.65 92.43 125.60 127.10 13.21 35.89 1.19 0.46 0.50 0.65 0.66 สาขาลูกจ้างในครัวเรือนฯ 12.16 8.31 13.99 20.19 -31.66 68.40 44.24 0.04 0.10 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด(GPP) 17,696.50 18,543.47 19,428.58 19,231.44 4.79 4.77 -1.01 100 รายได้ต่อหัว 65,058 67,190 69,359 68,655 3.28 3.23 -2.37 ประชากร(1,000 คน) 272 276 280 284 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดสตูล(GPP) 9,517.48 9,713.96 ภาคเกษตร : มูลค่าเพิ่ม ณ ราคาประจำปีของการผลิตภาคเกษตร ในปี 2551 เท่ากับ 9, ล้านบาท ลดลงจาก ปีที่ผ่านมา เท่ากับ ล้านบาท ภาคนอกเกษตร : มูลค่าเพิ่ม ณ ราคาประจำปีของการผลิตภาคนอกเกษตร ในปี 2551 เท่ากับ 9, ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา เท่ากับ 2.67 ล้านบาท ผลิตภัณฑ์จังหวัดต่อหัว (GPP Per Capita): ค่าเฉลี่ยต่อหัวของประชากร ในปี 2551 เท่ากับ 68,655บาท/คน หดตัวร้อยละ จากที่ขยายตัวร้อยละ 3.23 ในปีที่ผ่านมา 68,655

14 มูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่

15 มูลค่าเพิ่ม(ล้านบาท)
สาขาการผลิต มูลค่าเพิ่ม(ล้านบาท) อัตราการขยายตัว โครงสร้าง 2548 2549 2550 2551 ภาคเกษตร 6,199.64 10,151.13 9,095.25 8,590.88 63.74 -10.40 -5.55 42.88 55.57 52.71 52.03 เกษตรกรรม การล่าสัตว์ 3,420.89 6,850.21 5,478.47 4,784.65 100.25 -20.02 -12.66 23.66 37.50 31.75 28.98 การประมง 2,778.75 3,300.93 3,616.78 3,806.24 18.79 9.57 5.24 19.22 18.07 20.96 23.05 ภาคนอกเกษตร 8,257.91 8,115.58 8,160.40 7,920.02 -1.72 0.55 -2.95 57.12 44.43 47.29 47.97 การเหมืองแร่และเหมืองหิน 9.67 7.85 7.79 4.44 -18.85 -0.76 -43.00 0.07 0.04 0.05 0.03 การผลิตอุตสาหกรรม 1,218.71 1,495.53 1,654.02 1,718.44 22.71 10.60 3.89 8.43 8.19 9.59 10.41 การไฟฟ้า ก๊าซและประปา 201.68 227.01 244.76 260.07 12.56 7.82 6.25 1.39 1.24 1.42 1.58 การก่อสร้าง 330.00 415.30 388.45 399.37 25.85 -6.46 2.81 2.28 2.27 2.25 2.42 การขายส่ง การขายปลีก ฯ 1,680.10 1,649.16 1,173.02 1,026.74 -1.84 -28.87 -12.47 11.62 9.03 6.80 6.22 โรงแรมและภัตตาคาร 897.55 191.60 221.94 255.39 -78.65 15.84 15.07 6.21 1.05 1.29 1.55 การขนส่ง สถานที่เก็บสินค้าฯ 293.57 302.72 510.93 306.83 3.12 68.78 -39.95 2.03 1.66 2.96 1.86 ตัวกลางทางการเงิน 349.63 378.21 430.01 449.21 8.17 13.69 4.47 2.07 2.49 2.72 บริการด้านอสังหาริมทรัพย์ฯ 1,186.58 1,203.42 1,196.52 1,176.39 -0.57 -1.68 8.21 6.59 6.93 7.12 การบริหารราชการแผ่นดิน ฯ 885.29 976.54 1,009.65 980.31 10.31 3.39 -2.91 6.12 5.35 5.85 5.94 การศึกษา 827.00 874.52 889.23 900.08 5.75 1.68 1.22 5.72 4.79 5.15 5.45 การบริการด้านสุขภาพฯ 295.13 303.51 311.75 321.50 2.84 2.71 3.13 2.04 1.81 1.95 การให้บริการด้านชุมชนฯ 70.06 79.23 108.62 103.78 13.09 37.09 -4.45 0.48 0.43 0.63 สาขาลูกจ้างในครัวเรือนฯ 12.94 10.98 13.72 17.48 -15.13 24.97 27.38 0.09 0.06 0.08 0.11 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด(GPP) 14,457.55 18,266.71 17,255.65 16,510.91 26.35 -5.53 -4.32 100.00 ดัชนีราคาผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด 122.40 101.52 112.59 116.48 -17.06 10.91 3.45 -5.55 -2.95 ภาคเกษตร : อัตราการขยายตัวของมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ หดตัวร้อยละ 5.55 เมื่อเทียบกับ ปี ที่หดตัวร้อยละ เป็นผลมาจากสาขาเกษตรกรรม การล่าสัตว์ และ การป่าไม้ หดตัวร้อยละ เนื่องจากผลผลิตยางพาราซึ่งเป็นพืชเศรษฐกิจของจังหวัดลดลง สำหรับสาขาประมง ชะลอตัวร้อยละ 5.24 จากที่ขยายตัวร้อยละ 9.57 เนื่องจากการผลิตในกิจกรรมทำฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเล ซึ่งเป็นกิจกรรมหลักของสาขา ชะลอตัวในอัตราร้อยละ 9.83 ภาคนอกเกษตร :อัตราการขยายตัวของมูลค่าเพิ่ม ณ ราคาคงที่ หดตัวร้อยละ 2.95 เมื่อ เทียบกับปี 2550 ที่ขยายตัวร้อยละ 0.55 เป็นผลมาจากกิจกรรมการผลิตที่สำคัญชะลอตัว ได้แก่ สาขาอุตสาหกรรม ชะลอตัวร้อยละ ในขณะที่สาขาขายส่ง ขายปลีก และสาขาบริหารราชการฯ หดตัวร้อยละ และ 2.91 ตามลำดับ ดัชนีราคาผลิตภัณฑ์จังหวัด(GPP Implicit Deflator) ชะลอตัวร้อยละ 3.45 จากการขยายตัว ร้อยละ ในปีที่ผ่านมา เนื่องจากดัชนีราคาภาคเกษตรชะลอตัวร้อยละ จากการชะลอตัวของหมวดการเกษตรกรรม การล่าสัตว์ฯ ร้อยละ ขณะที่ดัชนีราคาหมวดการประมงเพิ่มขึ้นร้อยละ และดัชนีราคาภาคนอกเกษตรเพิ่มขึ้น ร้อยละ 3.06 3.45

16 สำนักงานคลังจังหวัดสตูล
กรมบัญชีกลาง สำนักงานคลังจังหวัดสตูล โทร :


ดาวน์โหลด ppt เงินงบประมาณจังหวัดสตูล

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google