ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
กรมปศุสัตว์ เป็นหน่วยหลัก
ความเป็นมา โครงการพัฒนาธุรกิจโคนม(กิจกรรมส่งเสริมเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมรายใหม่) โดยขอใช้เงินค่าใช้จ่ายสำรองเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ ปี 2545 กรมปศุสัตว์ เป็นหน่วยหลัก กรมส่งเสริมสหกรณ์ หน่วยงานสนับสนุนเงินทุนหมุนเวียนให้ เกษตรกรรายใหม่ยืมเพื่อการลงทุน (กพส.) สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร ติดตามประเมินผลโครงการ
2
เป้าหมาย เกษตรกรรายใหม่ 2,000 ราย วงเงิน 600 ล้านบาท (งบกระตุ้นเศรษฐกิจ ปี 45) ให้เกษตรกรรายใหม่ยืมเพื่อการลงทุนรายละ 300,000 บาท ค่าพันธุ์โคนม 5 ตัว ๆ ละ ไม่เกิน 35,000 บาท เป็นเงิน 175,000 บาท ค่าอุปกรณ์และโรงเรือน เป็นเงิน 85,000 บาท เงินทุนสำรองและค่าฝึกอบรม เป็นเงิน 40,000 บาท
3
โครงการพัฒนาธุรกิจโคนม (กิจกรรมส่งเสริมเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมรายใหม่)
สรุปการประเมินผล โครงการพัฒนาธุรกิจโคนม (กิจกรรมส่งเสริมเกษตรกรผู้เลี้ยงโคนมรายใหม่)
4
วัตถุประสงค์การประเมินผล
การประเมินผลความก้าวหน้าการดำเนินโครงการ การติดตามผลการส่งชำระเงินกู้ กพส. สรุปปัญหาและอุปสรรคการดำเนินงานโครงการ และแนวทางการพัฒนาในระยะต่อไป
5
การประเมินผลความก้าวหน้าการดำเนินโครงการ
ให้แก่สหกรณ์ 48 สหกรณ์(49 สัญญา) รวม 1,700 ราย คิดเป็นร้อยละ 85 ของโครงการ จำนวนเงินทั้งสิ้น ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ ของโครงการ ณ มกราคม 2551 สมาชิกคงเหลือ 1,249 ราย คิดเป็นร้อยละ สมาชิกเลิกเลี้ยง ราย คิดเป็นร้อยละ แยกเป็น ภาคเหนือ ราย - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ราย - ภาคตะวันตกและใต้ ราย - ภาคกลางและภาคตะวันออก ราย รวมเลิกเลี้ยง ราย
6
สาเหตุการเลิกเลี้ยง ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น ได้แก่ อาหาร ค่าขนส่ง
ราคาน้ำนมดิบคงเดิมไม่ได้ปรับราคาตามสภาวะเศรษฐกิจที่เพิ่มขึ้น เกษตรกรรายเล็กที่มีแม่โครีดนมน้อย รายได้ไม่พอคุ้มทุน
7
การติดตามผลการส่งชำระเงินกู้ กพส.
จำนวน 48 สหกรณ์ (49 สัญญา) เป็นเงิน ล้านบาท ณ วันที่ 30 กันยายน 2550 สหกรณ์มีต้นเงินพึงชำระ 97,680,000 บาท มี ส.ชำระต้นเงินรวม ,277, บาท มี ส.บางแห่งชำระล่วงหน้ารวม 17,281, บาท คิดเป็นร้อยละ 17 ของต้นเงินพึงชำระ มี ส.บางแห่งมีหนี้ค้างชำระรวม 2,264, บาท คิดเป็นร้อยละ ของต้นเงินพึงชำระ
8
สรุปปัญหา ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น ได้แก่ อาหาร ค่าขนส่ง
ราคาน้ำนมดิบคงเดิมไม่ได้ปรับราคาตามสภาวะเศรษฐกิจที่เพิ่มขึ้น เกษตรกรรายเล็กที่มีแม่โครีดนมน้อย รายได้ไม่พอคุ้มทุน
9
ข้อเสนอแนะในการพัฒนา
สมาชิกจะต้องมีการบริหารจัดการที่ดี ลดต้นทุนการผลิตโดยใช้วัตถุดิบอาหารสัตว์ที่มีคุณภาพและมีอยู่ในท้องถิ่น การวางแผนธุรกิจสหกรณ์จะต้องให้ทันกับความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ศึกษากลไกตลาดให้มีความเหมาะสมกับธุรกิจของสหกรณ์ สหกรณ์อาจดำเนินการตลาดเอง จัดหาตัวแทนจำหน่ายหรือร่วมทุนกับเอกชน หรือสร้างเครือข่าย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.