ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง
Blueprint for Change 17 พฤษภาคม 2550
2
หัวข้อการนำเสนอ เกณฑ์ตัวชี้วัดข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงประจำปี งบประมาณ พ.ศ. 2550 2. ผลการตรวจติดตามการนำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549 3. บทเรียนจาก TRIS ในการตรวจติดตามการนำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงไปสู่การปฏิบัติ (รอบ 12 เดือน ปี 2549) 4. ข้อแนะนำบางประการ สำหรับการดำเนินการ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2550
3
Blueprint for Change Roadmap (ปีงบประมาณ 48-50)
ปี 48 ปี 49 ปี 50 คัดเลือกแผน ข้อเสนอการ เปลี่ยนแปลงที่ เสนอมาในปี 48 หรือ49 จำนวน 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ ไปปฏิบัติ โดยเน้น 2 ด้าน คือ ด้านขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงาน ด้านบุคลากร จัดทำข้อเสนอ การเปลี่ยนแปลง ประเด็น ยุทธศาสตร์ จัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง ประเด็นยุทธศาสตร์ที่เหลือทั้งหมด นำแผนข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงปี 48 ไปปฏิบัติ กำหนดเป็นตัวชี้วัดบังคับ
4
เกณฑ์ตัวชี้วัดข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2550
5
จังหวัด มิติที่ 3 ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ
ตัวชี้วัดที่ ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ในการดำเนินการตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง ด้านขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงาน ของจังหวัด น้ำหนัก : ร้อยละ 3 มิติที่ 4 ด้านพัฒนาองค์กร ตัวชี้วัดที่ ระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก ในการดำเนินการตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง ด้านบุคลากรของจังหวัด น้ำหนัก : ร้อยละ 2
6
เงื่อนไขการประเมินผลฯ
ส่วนราชการ/จังหวัด พิจารณาเลือกข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง มาเสนออย่างน้อย 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ โดยข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวต้องมีการดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ.2550 ด้วย โดยขอให้แจ้งผลการคัดเลือกประเด็นยุทธศาสตร์ดังกล่าวมายังสำนักงาน ก.พ.ร.ภายในวันที่ 30 พฤษภาคม (กรณีจังหวัด) ตามแบบฟอร์มรายงานข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง สำหรับประเด็นยุทธศาสตร์อื่นๆ ที่มิได้เลือกมาสำหรับการประเมินผลก็ให้ดำเนินการไปตามปกติ ทั้งนี้เพื่อให้เป็นไปตามเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐต่อไป
7
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในส่วนที่เป็นแผนงาน
8
สิ่งที่ต้องดำเนินการ
ง. แผนงานและรายละเอียดการนำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงไปสู่การปฏิบัติ (ด้านขั้นตอน) ลำดับ ความสำคัญ สิ่งที่ต้องดำเนินการ รายละเอียด ผู้รับผิดชอบหลัก หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง ประมาณการงบประมาณ 2550 2551 1 1. พัฒนา ปรับปรุง แก้ไข ระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับงานให้ความเห็นทางกฎหมาย ให้มีความรวดเร็วสามารถนำไปใช้เป็นหลักใน การปฏิบัติราชการที่สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง 1 ……………….. 2. …………………. ………… …………… ……………… ………………. - 2 2 มีระบบการปฏิบัติงานที่เป็นการกระจายอำนาจการตัดสินใจจากผู้บริหารระดับสูง สู่ผู้บริหารระดับกลางมากขึ้น 1. สร้างความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับความจำเป็นในการกระจายอำนาจการตัดสินใจ 2. จัดทำคำสั่งมอบอำนาจการตัดสินใจที่ชัดเจนเป็นรูปธรรม 3. ประกาศให้ทราบโดยทั่วกัน -สำนัก/ฝ่ายกฎหมาย -สถาบันพัฒนานัก สมาคมผู้ค้า อัญมณีและเครื่องประดับจังหวัด/สำนักงานพาณิชย์จังหวัด ประมาณการงบประมาณรวม
9
แบบรายงานข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง ณ วันที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ.2550
10
แบบรายงานข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง
ณ วันที่ 30 พ.ค. 2550 ชื่อหน่วยงาน หน้า 1 แผนงานตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงด้านขั้นตอนและการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่คัดเลือก : การพัฒนากระบวนการออกกฎหมาย ระยะเวลา : เริ่ม ปีงบประมาณ พ.ศ สิ้นสุด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ดำเนินการ การดำเนินการ : แผนงานที่ต้องดำเนินการตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง : แผนงาน ตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง น้ำหนักการจัด ลำดับความสำคัญ (ปี พ.ศ. 2550) หน่วยงานรับผิดชอบ ประมาณการ งบประมาณ 1. พัฒนา ปรับปรุง แก้ไข ระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับงานให้ ความเห็นทางกฎหมาย ให้มีความรวดเร็วสามารถนำไปใช้เป็นหลักใน การปฏิบัติราชการที่สอดคล้องกับสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง (ดำเนินการในปีงบประมาณ พ.ศ. 2549) -สำนัก/ฝ่ายกฎหมาย -สำนักอำนวยการ - 2. มีระบบการปฏิบัติงานที่เป็นการกระจายอำนาจการตัดสินใจจาก ผู้บริหารระดับสูง สู่ผู้บริหารระดับกลางมากขึ้น 0.60 -สถาบันพัฒนานักกฏหมายมหาชน 3. …………………………….. 0.40 ………………….. งบประมาณดำเนินการ : รวม บาท ปัจจัยต่อความสำเร็จของการดำเนินการ (เงื่อนไขจำเป็น) : 1. สำนักงานมีการปรับปรุงเกี่ยวกับระเบียบ ข้อบังคับในงานให้ความเห็นทางกฎหมายอย่างต่อเนื่อง และได้ระบุแนวทางปรับปรุงดังกล่าวไว้ใน แผนพัฒนากฎหมายของสำนักงานด้วย ผนวกกับระเบียบ ข้อบังคับที่เกี่ยวกับงานร่างกฎหมายมีจำนวนน้อย 2. ผู้บริหารระดับสูงให้ความสำคัญกับการกระจายอำนาจการตัดสินใจสู่ผู้บริหารระดับกลาง
11
รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนน
หน้า 2 รายละเอียดของแผนงาน แผนงานที่ 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ : การพัฒนากระบวนการออกกฎหมาย ชื่อแผนงาน มีระบบการปฏิบัติงานที่เป็นการกระจายอำนาจการตัดสินใจ หน่วยงานรับผิดชอบ : สำนัก/ฝ่ายกฎหมาย/สำนักอำนวยการ จากผู้บริหารระดับสูงสุ่บริหารระดับกลางมากขึ้น ระยะเวลาดำเนินการ : เริ่ม ปีงบประมาณ พ.ศ สิ้นสุด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 รายละเอียดการดำเนินการตามแผนงาน : รายละเอียดของกิจกรรมที่ต้องดำเนินการตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง : รายละเอียดของกิจกรรมในปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 ตามที่กำหนดไว้ในข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง ผู้ดำเนินการ ประมาณการ งบประมาณที่ใช้ ปี 2550 1. สร้างความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับความจำเป็นในการกระจายอำนาจ การตัดสินใจ 2. จัดทำคำสั่งมอบอำนาจการตัดสินใจที่ชัดเจนเป็นรูปธรรม 3. ประกาศให้ทราบโดยทั่วกัน - สำนัก/ฝ่ายกฎหมาย - สำนักอำนวยการ - เกณฑ์การประเมินผล : ระดับคะแนน รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนน (กำหนดเกณฑ์การประเมินผลแต่ละระดับคะแนน) หมายเหตุ 1 ร้อยละ 60 ของความเห็นทางกฎหมาย แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด 2 ร้อยละ 70 ของความเห็นทางกฎหมาย แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด 3 ร้อยละ 80 ของความเห็นทางกฎหมาย แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด 4 ร้อยละ 90 ของความเห็นทางกฎหมาย แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด 5 ร้อยละ 100 ของความเห็นทางกฎหมาย แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด หน่วยงานผู้รับผิดชอบหลัก : - สำนัก/ฝ่ายกฎหมาย โทร - สำนักอำนวยการ
12
แบบรายงานข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง ณ วันที่ 30 พ.ค. 2550
ชื่อหน่วยงาน หน้า 1 แผนงานตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร ปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่คัดเลือก : การพัฒนากระบวนการออกกฎหมาย ระยะเวลา : เริ่ม ปีงบประมาณ พ.ศ สิ้นสุด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 ดำเนินการ การดำเนินการ : แผนงานที่ต้องดำเนินการตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง : แผนงาน ตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง น้ำหนักการจัด ลำดับความสำคัญ (ปี พ.ศ. 2550) หน่วยงานรับผิดชอบ ประมาณการ งบประมาณ 1. การพัฒนาสมรรถนะความรู้พื้นฐานในการจัดทำความเห็นทางกฎหมาย 0.30 -ศูนย์ข้อมูลกฎหมายกลาง - 2. การพัฒนาสมรรถนะความรู้ ความเชี่ยวชาญด้านกฎหมายมหาชน และกฎหมายเฉพาะด้านตามหน้าที่รับผิดชอบ (ระดับ 6-8) 0.25 -สำนัก/ฝ่ายกฎหมาย -สถาบันพัฒนานัก กฎหมายมฟาชน 3. การพัฒนาสมรรถนะความเชี่ยวชาญในการให้คำปรึกษาด้านกฎหมาย 0.20 -สำนักอำนวยการ 4. …… 5 ……………………………………. …………………….. งบประมาณดำเนินการ : รวม บาท ปัจจัยต่อความสำเร็จของการดำเนินการ (เงื่อนไขจำเป็น) : 1. แผนบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ ได้กำหนดให้บุคลากรภาครัฐได้รับการพัฒนาขีดความสามารถทางกฎหมายเพิ่มขึ้น ซึ่งสำนักงานได้นำมาจัดทำเป็นยุทธศาสตร์กับการพัฒนาบุคลากรทางกฎหมาย 2. สำนักงานมีระบบสารสนเทศทั้งระบบ Intranet และ Internet เพื่อใช้เป็นช่องทางในการพัฒนาสมรรถนะในด้านต่าง ๆ ของบุคลากร
13
รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนน
หน้า 2 รายละเอียดของแผนงาน แผนงานที่ 1 ประเด็นยุทธศาสตร์ : การพัฒนากระบวนการออกกฎหมาย ชื่อแผนงาน การพัฒนาสมรรถนะความรู้พื้นฐานในการจัดทำความเห็น หน่วยงานรับผิดชอบ : สถาบันพัฒนานักกฎหมายมหาชน ทางกฎหมาย ระยะเวลาดำเนินการ : เริ่ม ปีงบประมาณ พ.ศ สิ้นสุด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 รายละเอียดการดำเนินการตามแผนงาน : รายละเอียดของกิจกรรมที่ต้องดำเนินการตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง : รายละเอียดของกิจกรรมในปีงบประมาณ พ.ศ. 2550 ตามที่กำหนดไว้ในข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง ผู้ดำเนินการ ประมาณการ งบประมาณที่ใช้ ปี 2550 1. การปรับปรุงหลักสูตร 2. การเรียนผ่านระบบคอมพิวเตอร์ 3. การถ่ายทอดความรู้จากการประชุมฝ่ายร่างกฎหมาย 4. การสร้างวัฒนธรรมองค์กร - สถาบันพัฒนานักกฎหมายมหาชน - ศูนย์ข้อมูลกฎหมายกลาง - สำนัก/ฝ่ายกฎหมาย - เกณฑ์การประเมินผล : ระดับคะแนน รายละเอียดเกณฑ์การให้คะแนน (กำหนดเกณฑ์การประเมินผลแต่ละระดับคะแนน) หมายเหตุ 1 ร้อยละ 40 ของนิติกร/นักกฎหมายกฤษฎีการะดับ 3-5 ได้รับการพัฒนาสมรรถนะความรู้พื้นฐานในการจัดทำความเห็นทางกฎหมาย 2 ร้อยละ 50 ของนิติกร/นักกฎหมายกฤษฎีการะดับ 3-5 ได้รับการพัฒนาสมรรถนะความรู้พื้นฐานในการจัดทำความเห็นทางกฎหมาย 3 ร้อยละ 60 ของนิติกร/นักกฎหมายกฤษฎีการะดับ 3-5 ได้รับการพัฒนาสมรรถนะความรู้พื้นฐานในการจัดทำความเห็นทางกฎหมาย 4, 5 หน่วยงานผู้รับผิดชอบหลัก : สถาบันพัฒนานักกฎหมายมหาชน/สำนักอำนวยการ โทร หมายเหตุ : การพัฒนาสมรรถนะตามตัวชี้วัดนี้ หมายถึง การได้รับโอกาสเพื่อพัฒนาความรู้ ความสามารถ ผ่านช่องทางต่าง ๆ
14
การประเมินความสำเร็จพิจารณาจากระดับความสำเร็จของร้อยละเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก
ของเป้าหมายหรือรายละเอียดกิจกรรมที่กำหนดไว้ในแต่ละแผนงาน
15
แนวทางการประเมินผล
16
แนวทางการประเมินผล (ต่อ)
17
ผลการตรวจติดตามการนำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ
ผลการตรวจติดตามการนำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง ไปสู่การปฏิบัติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2549
18
D ( 5 = 6.67 % ) C ( 7 = 9.33 %) B ( 13 = 17.33 %) A ( 50 = 66.67 %)
ผลการจัดกลุ่มคะแนนของการดำเนินการตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง ของจังหวัด ปี พ.ศ. 2549 D ( 5 = 6.67 % ) C ( 7 = 9.33 %) B ( 13 = %) A ( 50 = %) A = 5 คะแนน B = คะแนน C = คะแนน D = ต่ำกว่า 4.25 คะแนน ค่าเฉลี่ย = จำนวนจังหวัด 75 จังหวัด
19
บทเรียนจาก TRIS ในการตรวจติดตามการนำข้อเสนอ การเปลี่ยนแปลงไปสู่การปฏิบัติ (รอบ 12 เดือน ปี 2549)
ปัจจัยความสำเร็จสำหรับส่วนราชการและจังหวัดที่ดำเนินการได้อย่างดี (คะแนนเต็ม 5 แบบไม่มีข้อสังเกต) การจัดทำแผนได้คำนึงถึงความเป็นไปได้ และคำนึงถึงข้อจำกัดต่าง ๆ มีการมอบหมายผู้รับผิดชอบแต่ละแผนงานอย่างครบถ้วน ผู้บริหารมีการติดตามงานอย่างสม่ำเสมอ ผู้บริหารให้การสนับสนุนทรัพยากรอย่างจริงจัง สถาบันการศึกษาในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมดำเนินการ
20
บทเรียนจาก TRIS ... (ต่อ) ข้อสังเกตสำหรับส่วนราชการและจังหวัดที่ดำเนินการได้ คะแนนเต็ม 5 แบบมีข้อสังเกต มีการปรับกิจกรรมที่เหมาะสมและใกล้เคียงกับกิจกรรมเดิม ภายใต้ข้อจำกัดเรื่องงบประมาณ มีการเลื่อนกิจกรรมบางกิจกรรมออกไป การเปลี่ยนนโยบายทำให้ต้องปรับแผน เขียนกิจกรรมง่าย ๆ ที่สามารถดำเนินการได้ ดำเนินการแบบวัด output มากกว่า outcome เช่น การจัดทำคู่มือ
21
บทเรียนจาก TRIS ... (ต่อ) ข้อสังเกตสำหรับส่วนราชการและจังหวัดที่ผลการดำเนินการ อยู่ในกลุ่ม D ทิ้งเรื่องนี้ไปเลย แจ้งว่าดำเนินการแต่ไม่มีหลักฐาน รวบรวมผลการดำเนินการไม่ได้
22
ข้อแนะนำบางประการ สำหรับการดำเนินการปีงบประมาณ พ.ศ. 2550
23
จังหวัด ยุทธศาสตร์จังหวัด
ปรับยุทธศาสตร์จังหวัดปัจจุบันให้สอดรับกับยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุข 5 ด้าน (สำหรับส่วนที่ไม่เกี่ยวข้องกับยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขทั้ง 5 ด้าน (รวมถึงยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด) จังหวัดก็สามารถดำเนินการต่อไปได้โดยใช้งบประมาณสนับสนุนจากกระทรวง ทบวง กรม) เน้นกระบวนการการมีส่วนร่วมในการวางแผนและกำหนดโครงการ จังหวัด ประเด็น ยุทธศาสตร์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ ประเด็น ยุทธศาสตร์อื่นๆ สงเคราะห์ เศรษฐกิจ พอเพียง (เน้นเกษตร ทฤษฎีใหม่) ทรัพยากร ธรรมชาติ และ สิ่งแวดล้อม ผลิตภัณฑ์ ชุมชน การให้ บริการ ยุทธศาสตร์ปัจจุบัน ยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุข
24
ข้อสังเกตจากแบบรายงานฯ ของส่วนราชการ
เขียนแผนงานมาแต่ไม่ระบุกิจกรรมและเกณฑ์การให้คะแนน การกำหนดเกณฑ์การให้คะแนนมักระบุว่า ปฏิบัติตามแผนได้ ร้อยละ 60 ,70,80,90,100 ซึ่งกรณีนี้ถ้าเขียนกิจกรรมครบ 5 ขั้นตอนก็ไม่มีปัญหา แต่ถ้าเขียนกิจกรรมไม่ครบ 5 ขั้นตอนหรือมากกว่า 5 ขั้นตอน จะมีปัญหาในการตีความ เช่น ร้อยละ 60 มีขอบเขตการดำเนินการแค่ไหน บางแผนงานง่ายมาก ๆ ชื่อแผนงาน การกำหนดกิจกรรม ระยะเวลา และวิธีการติดต่อเพื่อสร้างความสัมพันธ์กับผู้ผ่านการฝึกอบรม กิจกรรม จัดตั้งคณะทำงาน จัดทำรายชื่อ ทำแผนกำหนดกิจกรรม ผ่านความเห็นชอบ
25
ข้อสังเกตจากแบบรายงานฯ ของส่วนราชการ (ต่อ)
นำตัวชี้วัดตามคำรับรองมาเป็นแผนข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง เช่น มีแผน PMQA / แผน Individual Scorecard /การมีส่วนร่วม /การปราบปรามทุจริต/ BFC การกำหนดระดับคะแนนแบบกระโดด เป็น 1,3,5 6. การกำหนดระดับคะแนน 1 เท่ากับ ไม่สำเร็จ , 5 เท่ากับ สำเร็จ
26
แผนงานตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร
27
ลักษณะแผนงานตามข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร
การฝึกอบรมตาม Competency ที่ต้องการ การเรียนรู้จากการปฏิบัติงาน การเรียนรู้ในระบบบริหารความรู้ การทำงานเป็นทีม การปรับสภาพแวดล้อมการทำงาน การปรับวัฒนธรรมการทำงาน การจัดทำแผนกำลังคน การพัฒนาผู้นำ
28
ข้อสังเกตเกี่ยวกับแผนงานด้านบุคลากร
1. การฝึกอบรมตาม Competency ที่ต้องการ และ การจัดทำแผนกำลังคน แผนงานนี้ไม่มีปัญหา แต่มีข้อสังเกตว่า แผนที่จัดทำต้อง มีความเชื่อมโยงกับการวิเคราะห์แนวทางการพัฒนาบุคลากรตามแบบฟอร์มที่ 4 ในการจัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง แต่จะต้องตรวจสอบว่า Competency ใดได้ดำเนินการไปแล้วในปี 49 และ Competency ใดจะดำเนินการในปี 51 ทั้งนี้การกำหนดต้องสัมพันธ์ กับตัวชี้วัดด้วย ตัวชี้วัด 2549 2550 2551 ร้อยละของการดำเนินการฝึกอบรมตามแผนที่ตั้งไว้ตาม Competency ที่จำเป็น 60 80 95 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของจำนวนบุคลากรที่เข้ารับการอบรมตาม Competency ที่จำเป็น
29
การเรียนรู้จากการปฏิบัติงาน จะประกอบด้วยกิจกรรม
ข้อสังเกตเกี่ยวกับแผนงานด้านบุคลากร... (ต่อ) การเรียนรู้จากการปฏิบัติงาน จะประกอบด้วยกิจกรรม - วิเคราะห์งานว่างานใดควรใช้วิธี on the job training - ดำเนินการมอบหมายงาน/สอนงาน - ประเมินผลการปฏิบัติงาน ขั้นตอนที่ยาก คือ การเก็บหลักฐานการมอบหมายงาน ซึ่ง on the job training On the job training หมายถึง เป็นการปฏิบัติงานจริงให้เข้าใจ ถึงวิธีการทำงานที่ถูกต้องเหมาะสม ซึ่งต้องมีผู้กำกับดูแลให้ปฏิบัติอย่างถูกต้อง
30
การเรียนรู้โดยการจัดการความรู้
ข้อสังเกตเกี่ยวกับแผนงานด้านบุคลากร... (ต่อ) การเรียนรู้โดยการจัดการความรู้ ตรวจสอบว่า ประเด็นความรู้ตรงกับประเด็นยุทธศาสตร์ ที่เลือกมา Implement หรือไม่ 4. การทำงานเป็นทีม ตรวจสอบหลักฐาน - การจัดตั้งทีมงาน (เป็นทางการ/ไม่เป็นทางการ) - การจัดแบ่งหน้าที่ - กิจกรรมที่ดำเนินการร่วมกัน
31
- แผนการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทำงาน - ผลการดำเนินการปรับปรุง
ข้อสังเกตเกี่ยวกับแผนงานด้านบุคลากร... (ต่อ) 5. การปรับสภาพแวดล้อม ผลที่อาจเกิดขึ้น - การวิเคราะห์ปัญหา - แผนการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทำงาน - ผลการดำเนินการปรับปรุง 6. การปรับวัฒนธรรมการทำงาน การดำเนินการให้ได้มาซึ่งแผนปรับวัฒนธรรมการทำงาน
32
หลักสูตรพัฒนาผู้นำต้องสอดคล้องกับ Competency
ข้อสังเกตเกี่ยวกับแผนงานด้านบุคลากร... (ต่อ) 7. การพัฒนาผู้นำ หลักสูตรพัฒนาผู้นำต้องสอดคล้องกับ Competency ในประเด็นยุทธศาสตร์ที่คัดเลือก
33
บทเรียนจาก TRIS ในการตรวจติดตามการนำข้อเสนอ การเปลี่ยนแปลงไปสู่การปฏิบัติ (รอบ 12 เดือน ปี 2549)
ปัจจัยความสำเร็จสำหรับส่วนราชการและจังหวัดที่ดำเนินการได้อย่างดี (คะแนนเต็ม 5 แบบไม่มีข้อสังเกต) การจัดทำแผนได้คำนึงถึงความเป็นไปได้ และคำนึงถึงข้อจำกัดต่าง ๆ มีการมอบหมายผู้รับผิดชอบแต่ละแผนงานอย่างครบถ้วน ผู้บริหารมีการติดตามงานอย่างสม่ำเสมอ ผู้บริหารให้การสนับสนุนทรัพยากรอย่างจริงจัง (เช่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น) สถาบันการศึกษาในพื้นที่เข้ามามีส่วนร่วมดำเนินการ (เช่น จ.เพชรบุรี)
34
บทเรียนจาก TRIS ... (ต่อ) ข้อสังเกตสำหรับส่วนราชการและจังหวัดที่ดำเนินการได้ คะแนนเต็ม 5 แบบมีข้อสังเกต มีการปรับกิจกรรมที่เหมาะสมและใกล้เคียงกับกิจกรรมเดิม ภายใต้ข้อจำกัดเรื่องงบประมาณ มีการเลื่อนกิจกรรมบางกิจกรรมออกไป การเปลี่ยนนโยบายทำให้ต้องปรับแผน เขียนกิจกรรมง่าย ๆ ที่สามารถดำเนินการได้ ดำเนินการแบบวัด output มากกว่า outcome เช่น การจัดทำคู่มือ
35
บทเรียนจาก TRIS ... (ต่อ) ข้อสังเกตสำหรับส่วนราชการและจังหวัดที่ผลการดำเนินการ อยู่ในกลุ่ม D ทิ้งเรื่องนี้ไปเลย แจ้งว่าดำเนินการแต่ไม่มีหลักฐาน 3. รวบรวมผลการดำเนินการไม่ได้
36
Q & A
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.