ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง
2
หัวข้อที่จะบรรยาย ส่วนแรก: ส่วนที่สอง: ส่วนที่สาม:
โครงสร้างกระทรวงการคลัง โครงสร้างสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง ส่วนที่สอง: โครงสร้างเศรษฐกิจไทย ประมาณการเศรษฐกิจไทยปี 2549 นโยบายเศรษฐกิจในอนาคต ส่วนที่สาม: สถานการณ์ด้านการคลัง
3
โครงสร้างกระทรวงการคลัง และ โครงสร้าง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง
4
Office of State Enterprise and Government Securities
โครงสร้างหน่วยงาน กระทรวงการคลัง สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง สำนักงานรัฐมนตรี Treasury Dept. (กรมธนารักษ์) Office of State Enterprise and Government Securities (สำนักงานคณะกรรมการ นโยบายรัฐวิสาหกิจ) Fiscal Policy Office (สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง) Asset Management Group (กลุ่มบริหารทรัพย์สิน) Revenue Management Group (กลุ่มบริหารรายได้) Expense and Debt Management Group (กลุ่มบริหารรายจ่ายและหนี้สิน) Revenue Dept. (กรมสรรพากร) Comptroller General Dept. This diagram represents the organizational structure of the MOF. It consists of Office of the ministry of finance on the top. Then Office of the prem sec. And the office of the secretary of the minister. Then operational departments are divided into 4 clusters, namely, the FPO, Asset Mgt Group, Rev Mgt Group, and Expense and Debts mgt group. Each of the four clusters is headed by a deputy permanent secretary. Excise Dept. (กรมสรรพสามิต) Public Debt Management Office Customs Dept. (กรมศุลกากร)
5
Facilitating and coordinating matters assigned by the Minister
โครงสร้างหน่วยงาน กระทรวงการคลัง สำนักงานรัฐมนตรี Facilitating and coordinating matters assigned by the Minister Assisting the Minister in political matters Handling the Minister’s appointments, clarifying petitions and public enquires
6
สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง
โครงสร้างหน่วยงาน กระทรวงการคลัง สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง - Controlling, coordinating and inspecting planned activities of the Ministry - Formulating and reviewing rules and regulations - Providing computer services, including system development and training - Handling their civil servants’ code of conduct Operation matters irrelevant to those of other Departments
7
สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง
โครงสร้างหน่วยงาน กระทรวงการคลัง Fiscal Policy Office สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง Providing technical advice to the Permanent Secretary and the Minister of Finance Participating in policy formulation, and operations regarding fiscal policies, financial system policies, saving and investment policies, economic policies, Economic analysis by macroeconomic models, Policy on regional economic integration, Multilateral negotiation policy Coordination with the Work Bank, IMF and ADB
8
Keeper of the Government real properties
โครงสร้างหน่วยงาน กระทรวงการคลัง Office of the Secretary to the Minister Office of the Permanent Secretary Treasury Dept. Asset Management Group Fiscal Policy Office - Production of coins Keeper of the Government real properties - Supervising and verifying the treasury reserve accounts
9
Office of State Enterprise and Government Securities
โครงสร้างหน่วยงาน กระทรวงการคลัง Office of the Secretary to the Minister Office of the Permanent Secretary Oversee SOEs, financial and accounting policies Formulation compensation schemes and determining the level of revenue remittance Managing enterprise whereby govt’ holding comprises less than 50% Improving the economic efficiency of SOEs base on the international best practices - Establishing key initiatives for privatisation Office of State Enterprise and Government Securities Fiscal Policy Office Asset Management Group Treasury Dept.
10
Office of State Enterprise and Government Securities
โครงสร้างหน่วยงาน กระทรวงการคลัง Office of the Secretary to the Minister Office of the Permanent Secretary Office of State Enterprise and Government Securities Revenue Management Group Revenue Dept. Fiscal Policy Office Asset Management Group Treasury Dept. - Collection of taxes based on income and domestic consumption - Reviewing and improving laws and regulations pertaining to tax collection system Negotiation with other countries on the avoidance to double taxation treaties to promote trade and investment
11
Office of State Enterprise and Government Securities
โครงสร้างหน่วยงาน กระทรวงการคลัง สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง Office of State Enterprise and Government Securities Excise Dept. Fiscal Policy Office Asset Management Group Revenue Management Group Treasury Dept. Revenue Dept. - Excise tax collection which is at present levied on 11 types of domestic and import goods and services And carrying out suppression activities to ensure a strict law enforcement
12
Office of State Enterprise and Government Securities
โครงสร้างหน่วยงาน กระทรวงการคลัง Office of the Secretary to the Minister Collection of the custom tariff levied by the Customs Department itself or other taxes and duties which are levied on import and export Prevention and suppression of customs offences Promotion of export through tax measures and services Supporting and approving the setting-up of bonded warehouses and container yards outside the Bangkok port Office of the Permanent Secretary Office of State Enterprise and Government Securities Customs Dept. Fiscal Policy Office Asset Management Group Revenue Management Group Treasury Dept. Revenue Dept. Excise Dept.
13
Office of State Enterprise and Government Securities
โครงสร้างหน่วยงาน กระทรวงการคลัง Office of the Secretary to the Minister Office of the Permanent Secretary Office of State Enterprise and Government Securities Comptroller General Dept. Expense and Debt Management Group Customs Dept. Laying out the Govt’ accounting system Formulating and updating the nation’s fiscal rules and regulations Managing the treasury reserve balance Controlling the disbursement form budgetary and non-budgetary accts’ Formulating civil servants’ pay scale, pensions, gratuities, and other remunerations Acting as agents of the Bank of Thailand in the provinces. Fiscal Policy Office Asset Management Group Revenue Management Group Treasury Dept. Revenue Dept. Excise Dept.
14
Office of State Enterprise and Government Securities
โครงสร้างหน่วยงาน กระทรวงการคลัง Office of the Secretary to the Minister Office of the Permanent Secretary Office of State Enterprise and Government Securities Customs Dept. Public Debt Management Office Fiscal Policy Office Asset Management Group Revenue Management Group Expense and Debt Management Group Treasury Dept. Revenue Dept. Comptroller General Dept. Formulating and delivering public sector borrowing public debt management policy government foreign lending policy Excise Dept.
15
รองผู้อำนวยการ สศค. (3 ท่าน) and Implementation Group
Fiscal Policy Office ผู้อำนวยการ สศค. รองผู้อำนวยการ สศค. (3 ท่าน) เลขานุการกรม Internal Audit Group สำนักนโยบายการคลัง Technical Assistance Coordination and Implementation Group สำนักนโยบายภาษี Legal Affairs Group สำนักนโยบายระบบการเงินฯ Neighboring Countries Economic Development Group Fiscal Risk Management Group สำนักนโยบายการออมและการลงทุน สำนักนโยบายเศรษฐกิจมหภาคและระหว่างประเทศ Efficiency Promotion Group Information and Communication Technology Center
16
โครงสร้างเศรษฐกิจไทย
คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
17
Supply side Economy Agriculture Services Manufacturing
18
Demand side Economy Y = C + I + G + (X - M)
19
การประมาณการเศรษฐกิจไทยในปี 2549
Introduction ในเรื่องแถลงข่าวการประมาณการเศรษฐกิจไทยในปี 2549 ผมจะขอแถลงในฐานะ เลขานุการคณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค ซึ่งเป็นคณะกรรมการที่มีท่านอาจารย์ ดร วีรพงษ์ เป็นประธาน และมีผู้แทนจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งจากสภาพัฒน์ฯ ธปท. สำนักงานเศรษฐกิจการอุตสาหกรรม สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร และผู้แทนภายนอก เช่น TDRI ผมจะขอแถลงการประมาณการออกเป็น 2 ส่วน คือ 1 ในเรื่องสมมติฐานของการประมาณการ ที่คณะกรรมการได้ประเมินไว้ และ 2 ในเรื่องของผลการประการเศรษฐกิจทั้งด้านอัตราการขยายตัวเศรษฐกิจและด้านเสถียรภาพเศรษฐกิจ สำหรับการประมาณการเศรษฐกิจในครั้งนี้ เราจะมีการกำหนดเป็น Range ของสมมติฐานและผลการประมาณการด้วย ทั้งนี้เนื่องจากสถานการณ์เศรษฐกิจในปัจจุบันมีความไม่แน่นอนค่อนข้างสูง ดังนันเราถึงกำหนดเป็น Range ไว้ คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
20
คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
สรุปสมมติฐานในการประมาณการ สมมติฐาน 2548 2549 f (ณ กุมภาพันธ์) 1) อัตราการขยายตัวของ 11 ประเทศคู่ค้า (ร้อยละต่อปี) 3.5* 2) ราคาน้ำมันดิบดูไบ (ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล) 48.7 3) อัตราแลกเปลี่ยน (บาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯ) 40.3 4) อัตราการขยายตัวของดัชนีราคาสินค้าส่งออก (ร้อยละต่อปี) 10.2* 5) อัตราการขยายตัวของดัชนีราคาสินค้านำเข้า (ร้อยละต่อปี) 16.1* 6) อัตราดอกเบี้ย Fed Funds Rate ณ สิ้นปี (ร้อยละต่อปี) 4.25 7) อัตราการขยายตัวของสินเชื่อธนาคารพาณิชย์ (ร้อยละต่อปี) 8.3 8.0 8) เงินลงทุนใน Mega Projects (พันล้านบาท) 43 151 สมมติฐานในการประมาณการประกอบด้วย 1) อัตราการขยายตัวเศรษฐกิจของประเทศคู่ค้า 11 ประเทศ ซึ่ง Cover สัดส่วนการส่งออกของไทยถึง 77.5% 2) ราคาน้ำมันดิบดูไบ 3) อัตราแลกเปลี่ยน 4) อัตราการขยายตัวของดัชนีราคาสินค้าส่งออก 5) อัตราการขยายตัวของดัชนีราคาสินค้านำเข้า 6) อัตราดอกเบี้ย Fed Funds Rate 7) อัตราการขยายตัวของสินเชื่อธนาคารพาณิชย์ และ 8) เงินลงทุนใน Mega Projects คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
21
คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
สมมติฐานในการประมาณการ 1. อัตราการขยายตัวของ 11 ประเทศคู่ค้า ในปี 2549 อัตราการขยายตัวของ 11 ประเทศคู่ค้า คาดว่าจะขยายตัวร้อยละ ต่อปี อัตราการขยายตัวของ 11 ประเทศคู่ค้า เฉลี่ย 3 ไตรมาสแรกของปี 2548 ขยายตัวร้อยละ 3.6 ต่อปี และคาดการณ์ว่าในไตรมาส 4 จะขยายตัวร้อยละ 3.4 ต่อปี ทำให้ทั้งปีคาดว่าจะขยายตัวได้ร้อยละ 3.5 ต่อปี ในปี 2549 คาดว่าการขยายตัวทางเศรษฐกิจของ 11 ประเทศคู่ค้ายังอยู่ในระดับใกล้เคียงกับปีที่ผ่านมาที่เฉลี่ยร้อยละ 3.5 ต่อปี หรืออยู่ในช่วงคาดการณ์ที่ร้อยละ ต่อปี USA = 3.2% Euro = 1.4% Japan = 2.5% China = 8.0% HongKong = 5.0% Taiwan = 3.7% Singapore = 4.0% Malaysia = 5.5% Indonesia = 4.5% Philippines = 4.4% คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
22
คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
สมมติฐานในการประมาณการ 2. ราคาน้ำมันดิบดูไบ ในปี 2549 ราคาน้ำมันดิบดูไบเฉลี่ยอยู่ที่ ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ราคาน้ำมันดิบดูไบเฉลี่ยปี 2548 อยู่ที่ 48.7 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล ราคาน้ำมันดิบในช่วงต้นปี 2549 สูงขึ้นอย่างรวดเร็ว (เฉลี่ยต้นปีถึงปัจจุบันวันที่ 8 ก.พ อยู่ที่ ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล) สศค. คาดว่า ราคาน้ำมันดิบดูไบเฉลี่ยในปี 2549 จะอยู่ที่ 58.4 ดอลลาร์ต่อบาร์เรล (อยู่ในช่วงประมาณ ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล) เพิ่มขึ้นจากปีก่อนเล็กน้อย เนื่องจาก ด้านอุปสงค์: อุปสงค์น้ำมันดิบโลกยังคงปรับตัวสูงขึ้นตามการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก ด้านอุปทาน: อุปทานน้ำมันดิบในตลาดโลกยังคงตึงตัว ความไม่แน่นอยของปัจจัยอื่นๆ: เช่น การประท้วงหยุดงานของแรงงานขุดเจาะน้ำมันดิบ ความไม่สงบทางการเมืองในต่างประเทศ และการเก็งกำไร เป็นต้น คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
23
คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
สมมติฐานในการประมาณการ 3. อัตราแลกเปลี่ยน ในปี 2549 อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ยอยู่ที่ บาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯ อัตราแลกเปลี่ยนบาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯ ตั้งแต่ต้นปีแข็งค่าขึ้นอย่างรวดเร็วตามการอ่อนค่าลงของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ และการเคลื่อนย้ายเงินทุนจากต่างประเทศเข้ามาลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ไทย แต่อย่างไรก็ตามในเดือน ก.พ. อัตราแลกเปลี่ยนบาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯ เริ่มอ่อนค่าลง อย่างไรก็ตาม ค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้นใกล้เคียงกับเงินสกุลอื่นในภูมิภาค: การแข็งค่าของเงินบาทสอดคล้องกับการแข็งค่าของเงินสกุลในภูมิภาค ในปี 2549 สศค. ใช้สมมติฐานอัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ยอยู่ที่ 39.6 บาทต่อดอลลาร์สหรัฐ (ช่วงการดาดการณ์ประมาณ บาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯ) คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
24
คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
สมมติฐานในการประมาณการ 4. ราคาสินค้าส่งออก และ 5. ราคาสินค้านำเข้า ในปี 2549 คาดว่าดัชนีราคาสินค้าส่งออกและนำเข้าจะขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงอยู่ที่ร้อยละ และ ต่อปี ตามลำดับ ราคาสินค้าส่งออกในรูปดอลลาร์สหรัฐฯ ในช่วงท้ายปี 2548 ขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงจากช่วงต้นปี 2548 ค่อนข้างมาก ทำให้คาดว่าดัชนีราคาสินค้าส่งออกในปี 2549 ขยายตัวในอัตราชะลอลง เนื่องจาก 1) ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกไม่ขยายตัวในอัตราเร่งเหมือนปีที่ผ่านมา และ 2) ราคาสินค้าส่งออกในตลาดโลกมีแนวโน้มปรับตัวลดลง ในปี 2549 สศค. คาดว่า ดัชนีราคาสินค้าส่งออกขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงอยู่ระหว่างร้อยละ ต่อปี ซึ่งการที่ราคาส่งออกลดลง จะมีผลต่อมูลการส่งออกในปี 2549 นี้ด้วย ราคาสินค้านำเข้าในรูปดอลลาร์สหรัฐฯ ในช่วงท้ายปี 2548 ขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงจากช่วงต้นปี 2548 ค่อนข้างมาก ทำให้คาดว่าดัชนีราคาสินค้านำเข้าในปี 2549 น่าจะชะลอตัวลงเช่นกัน เนื่องจาก 1) ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกไม่ขยายตัวในอัตราเร่งเหมือนปีที่ผ่านมา และ 2) ราคาสินค้านำเข้าในตลาดโลกมีแนวโน้มปรับตัวลดลง ในปี 2549 สศค. คาดว่า ดัชนีราคาสินค้านำเข้าขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงอยู่ระหว่างร้อยละ ต่อปี ซึ่งการที่ราคานำเข้าลดลง จะส่งผลต่อมูลค่าการนำเข้าในปี 2547 ด้วย คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
25
คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
สมมติฐานในการประมาณการ 6. อัตราดอกเบี้ย Fed Funds Rate และ RP 14 วัน อัตราดอกเบี้ย Fed Funds Rate และ RP 14 วัน อยู่ที่ร้อยละ ต่อปี ในปี 2549 คาดว่า อัตราดอกเบี้ยยังอยู่ในแนวโน้มขาขึ้น: ธนาคารกลางของสหรัฐฯ ปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบายมาอยู่ที่ร้อยละ 4.5 ต่อปี และไทยปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบาย RP 14 วัน มาอยู่ที่ร้อยละ 4.25 ต่อปี เพื่อบรรเทาผลของเงินเฟ้อ และคาดว่าธนาคารกลางของทั้ง 2 ประเทศ อาจจะปรับอัตราดอกเบี้ยนโยบายขึ้นอีกร้อยละ ต่อปี ภายในสิ้นปี 2549 ในปี 2549 สศค. คาดว่า อัตราดอกเบี้ย Fed Funds Rate และ RP 14 วัน อยู่ที่ร้อยละ ต่อปี คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
26
คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
สมมติฐานในการประมาณการ 7. สินเชื่อธนาคารพาณิชย์ คาดว่า ในปี 2549 มูลค่าของสินเชื่อธนาคารพาณิชย์ในปี 2549 ยังคงขยายตัวได้ร้อยละ 8.0 ต่อปี ในปี 2548 สินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ยังคงขยายตัวได้อย่างต่อเนื่อง การขยายตัวของสินเชื่อธนาคารพาณิชย์อยู่ที่ร้อยละ 8.0 ต่อปี ใกล้เคียงกับปีก่อน คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
27
คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
สมมติฐานในการประมาณการ 8. Mega Projects ในปี 2549 การลงทุนใน Mega Projects คาดว่าจะสามารถเบิกจ่ายได้จริงประมาณ 151 พันล้านบาท การลงทุนในโครงการ Mega Projects ในปี 2549 คาดว่าจะสามารถลงทุนได้จริงประมาณ 151 พันล้านบาท จากวงเงินที่ตั้งไว้ 290 พันล้านบาท ตามมติ ครม. เมื่อเดือนพฤศจิกายน 2548 สมมติฐานการเบิกจ่ายการลงทุนในโครงการ Mega Project นี้ค่อนข้าง conservative และเราได้ใช้วิธีการแบบ Bottom up คือดูราย Project ขึ้นมา โดยสมมติฐานที่ใช้คาดว่าจะมีการ Delay ในโครงการ Mass Transit แต่โครงการขนาดใหญ่ในประเทศ เช่น โครงการบ้านเอื้ออาทร และโครงการที่ใช้เงินจากงบประมาณคาดว่าจะเบิกจ่ายได้ตามที่กำหนด 151 คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
28
คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
ผลการประมาณการ 1. อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ ภาพรวมเศรษฐกิจไทยในปี 2549 ขยายตัวได้ดีกว่าปีก่อน โดยคาดว่าจะขยายตัวที่เฉลี่ยร้อยละ 5 ต่อปี (ช่วงการคาดการณ์อยู่ที่ร้อยละ ต่อปี) ภาพรวมเศรษฐกิจไทยในปี 2549 ขยายตัวได้เฉลี่ยร้อยละ 5 ต่อปี โดยมีช่วงการดาดการณ์ที่ร้อยละ ต่อปี ปัจจัยสนับสนุนการขยายตัวในปี 2549 ได้แก่ ในด้านอุปทาน ปัจจัยสนับสนุนการขยายตัวของเศรษฐกิจคือ การผลิตภาคเกษตรและภาคบริการ เนื่องจากปัญหา Supply Shock ในปีก่อนหมดไปและเริ่มกลับเข้าสู่แนวโน้มการขยายตัวตามปกติ ในขณะที่ภาคอุตสาหกรรมจะขยายตัวใกล้เคียงกับปีก่อน ในด้านอุปสงค์ มีตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่สำคัญคือ การส่งออกสินค้าและบริการที่แท้จริง ประกอบกับการชะลอตัวลงของการนำเข้าสินค้าและบริการที่แท้จริง สาเหตุที่มีการคาดการณ์เป็นช่วงในครั้งนี้ด้วย เนื่องจากสถานการณ์ในปัจจุบันยังมีความไม่แน่นอนอยู่มาก โดยเฉพาะจากปัจจัยทางการเมืองและความผันผวนจากเศรษฐกิจโลกและราคาน้ำมัน จากการประเมินสถานการณ์ในปัจจุบันทั้งปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก เรายังมีความมั่นใจว่าเศรษฐกิจไทยยังมีพื้นฐานที่แข็งแกร่งที่จะทำให้เศรษฐกิจไทยในปีนี้ขยายตัวได้ที่ร้อยละ 5 อย่างไรก็ตาม เราก็มีการกำหนดเป็น Range ของความไม่แน่นอนต่างๆ เช่น ถ้าราคาน้ำมันดูไบยังอยู่ใน Range สมมติฐานที่ ดอลลาร์ต่อบาร์เรล เราก็ยังมั่นใจว่าเศรษฐกิจไทยยังคงเติบโตอยู่ในช่วง 4.5-5% เช่นเดียวกันกับการลงทุนภาคเอกชนที่เราคาดการณ์ว่าจะขยายตัวอยู่ในช่วง % (ซึ่งถือว่าเป็นการคาดการณ์ที่ Conservative มาก) ดังนั้น หากเหตุการณ์ความไม่สงบทางการเมืองยังไม่กระทบการลงทุนภาคเอกชนมากกว่า Range นี้ เราก็ยังมั่นใจว่า เศรษฐกิจไทยจะขยายตัวในช่วง 4.5-5% เช่นเดียวกับ การเบิกจ่ายโครงการ Mega Project ที่เราใช้สมมติฐานการคาดการณ์ที่ Conservative ที่ 151 พันล้าน จากแผนการใช้จ่าย 290 พันล้าน ดังน้น หากโครงการจ่ายเบิกจ่ายได้เร็วกว่านี้ เศรษฐกิจไทยก็อาจโตมากกว่าที่คาดการณ์ หรือ หากโครงการเบิกจ่ายช้ากว่านี้ เศรษฐกิจกไทยก็อาจโตชะลอกว่าที่ดาดการณ์ Nominal GDP = 7,515-7,665 Bill.Baht Real GDP = 4,016-4,096 Bill.Baht คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
29
คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
ผลการประมาณการ 2. เสถียรภาพเศรษฐกิจภายนอก ในปี 2549 ดุลการบัญชีเดินสะพัดขาดดุลใกล้เคียงกับปีก่อนที่ร้อยละ 2.1 ของ GDP (ช่วงการคาดการณ์อยู่ที่ร้อยละ -1.5 ถึง -2.5 ต่อ GDP) ในปี 2549 คาดว่า ดุลบัญชีเดินสะพัดจะขาดดุลใกล้เคียงกับปีก่อนที่ประมาณร้อยละ -2.1 ของ GDP โดยมีช่วงการดาดการณ์ที่ร้อยละ -2.5 ถึง -1.5 ของ GDP Trade Balance = -8.5 Bill.$ Service Balance = +6.0 Bill.$ Net Income and Transfers = -1.5 Bill.$ คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
30
คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
ผลการประมาณการ 3. เสถียรภาพภายในประเทศ ในปี 2549 คาดว่าอัตราเงินเฟ้อทั่วไปเฉลี่ยจะชะลอลงอยู่ที่ร้อยละ 3 ต่อปี (ช่วงการคาดการณ์อยู่ที่ร้อยละ ต่อปี) ในปี 2549 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปชะลอลงอยู่ที่ร้อยละ 3 ต่อปี โดยมีช่วงการคาดการณ์ที่ร้อยละ ต่อปี ทั้งนี้ สศค. คาดการณ์ว่าอัตราเงินเฟ้อจะอยู่ในระดับสูงในช่วงต้นปี เพราะฐานที่ต่ำในครึ่งปีแรกของปีก่อน(ที่มีการควบคุมราคาน้ำมันดีเซลขายปลีกในประเทศ) และคาดว่าจะลดลงอย่างรวดเร็วในช่วงที่เหลือของปี เนื่องจาก 1) อัตราการขยายตัวของราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกจะขยายตัวในอัตราชะลอลงจากปีก่อน (ราคาน้ำมันดิบในปี 48 เพิ่มขึ้นจากปี 47 ถึง 45% แต่ในปี 2549 นี้คาดว่าจะเพิ่มขึ้นจากปี 47 ประมาณ 20%) 2) อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ยบาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯ มีแนวโน้มแข็งค่าขึ้นจากปี 2548 และ 3) อัตราดอกเบี้ยยังอยู่ในแนวโน้มขาขึ้น โดยล่าสุดธนาคารกลางของไทยยังคงปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายเป็นร้อยละ 4.25 ต่อปี คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
31
คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
สรุปผลการประมาณการ ผลการประมาณการ 2548 2549 f (ณ ก.พ.) เฉลี่ย ช่วง อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (ร้อยละต่อปี) 4.5 5.0 ดุลบัญชีเดินสะพัด (ร้อยละต่อ GDP) -2.1 (-2.5)-(-1.5) อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (ร้อยละต่อปี) 3.0 เศรษฐกิจไทยในปี 2549 คาดว่าจะขยายตัวที่ร้อยละ 5.0 ต่อปี (ช่วงคาดการณ์อยู่ระหว่างร้อยละ 4.5 – 5.5 ต่อปี) โดยมีปัจจัยขับเคลื่อนหลักมาจากอุปสงค์จากภายนอกประเทศสุทธิ กล่าวคือ ปริมาณการส่งออกสินค้าและบริการในปี 2549 คาดว่าจะขยายตัวเพิ่มขึ้นเนื่องจากสินค้าส่งออกที่สำคัญ เช่น สินค้าอิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ รถยนต์ และสินค้าเกษตร มีแนวโน้มขยายตัวดีขึ้นตามความต้องการในต่างประเทศที่เพิ่มขึ้น นอกจากนั้นภาคบริการด้านการท่องเที่ยวจะเริ่มกลับมาขยายตัวได้ตามปกติหลังจากที่ได้รับผลกระทบจาก Tsunami ในปีก่อน ในขณะที่ปริมาณการนำเข้าสินค้าและบริการในปี 2549 คาดว่าจะขยายตัวในอัตราชะลอลง เนื่องจากการชะลอลงของอุปสงค์ในประเทศทั้งการบริโภคและการลงทุน ประกอบกับในปีก่อนมีการนำเข้าที่ผิดปกติหลายประการ เช่น การนำเข้าน้ำมันดิบที่สูงผิดปกติในช่วงตรึงราคาน้ำมันดีเซล การนำเข้าเหล็กที่สูงผิดปกติเพื่อทดแทนการผลิตภายในประเทศในช่วงที่ปิดซ่อมโรงงาน การนำเข้าทองคำเพื่อเก็งกำไร สำหรับด้านเสถียรภาพภายนอก คาดว่าดุลบัญชีเดินสะพัดในปี 2549 จะขาดดุลใกล้เคียงกับปีก่อนที่ร้อยละ -2.1 ของ GDP (ช่วงคาดการณ์อยู่ระหว่างร้อยละ -1.5 ถึง -2.5 ของ GDP) สำหรับด้านเสถียรภาพภายใน คาดว่า อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในปี 2549 จะชะลอลงจากปีก่อนมาอยู่ที่ร้อยละ 3.0 ต่อปี (ช่วงคาดการณ์อยู่ระหว่างร้อยละ ต่อปี) โดยคาดว่าอัตราเงินเฟ้อจะอยู่สูงในครึ่งปีแรกเนื่องจากฐานที่ต่ำในปีก่อน และจะค่อยๆ ปรับตัวลดลงอย่างมากในครึ่งปีหลังของปี 2549 คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
32
คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
ผลการประมาณการ 2. อัตราการขยายตัวการบริโภครวมที่แท้จริง การบริโภครวมที่แท้จริงในปี 2549 ขยายตัวได้ร้อยละ ต่อปี ภาพรวมเศรษฐกิจไทยในปี 2549 ขยายตัวได้ร้อยละ ต่อปี โดยมีการส่งออกสินค้าและบริการที่แท้จริงเป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่สำคัญ ประกอบกับการชะลอตัวลงของการนำเข้าสินค้าและบริการที่แท้จริง ในด้านอุปทาน ปัจจัยสนับสนุนการขยายตัวของเศรษฐกิจคือ การผลิตภาคเกษตรและภาคบริการ เนื่องจากปัญหา Supply Shock ในปีก่อนหมดไปและเริ่มกลับเข้าสู่แนวโน้มการขยายตัวตามปกติ ในขณะที่ภาคอุตสาหกรรมจะขยายตัวใกล้เคียงกับปีก่อน ในด้านอุปสงค์ มีตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่สำคัญคือ การส่งออกสินค้าและบริการที่แท้จริง ประกอบกับการชะลอตัวลงของการนำเข้าสินค้าและบริการที่แท้จริง คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
33
คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
ผลการประมาณการ 3. อัตราการขยายตัวการลงทุนรวมที่แท้จริง การลงทุนรวมที่แท้จริงในปี 2549 ขยายตัวได้ร้อยละ ต่อปี ภาพรวมเศรษฐกิจไทยในปี 2549 ขยายตัวได้ร้อยละ ต่อปี โดยมีการส่งออกสินค้าและบริการที่แท้จริงเป็นตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่สำคัญ ประกอบกับการชะลอตัวลงของการนำเข้าสินค้าและบริการที่แท้จริง ในด้านอุปทาน ปัจจัยสนับสนุนการขยายตัวของเศรษฐกิจคือ การผลิตภาคเกษตรและภาคบริการ เนื่องจากปัญหา Supply Shock ในปีก่อนหมดไปและเริ่มกลับเข้าสู่แนวโน้มการขยายตัวตามปกติ ในขณะที่ภาคอุตสาหกรรมจะขยายตัวใกล้เคียงกับปีก่อน ในด้านอุปสงค์ มีตัวขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่สำคัญคือ การส่งออกสินค้าและบริการที่แท้จริง ประกอบกับการชะลอตัวลงของการนำเข้าสินค้าและบริการที่แท้จริง คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
34
คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
ผลการประมาณการ 4. อัตราการขยายตัวปริมาณ และมูลค่าส่งออกสินค้าและบริการ ปริมาณการส่งออกสินค้าและบริการในปี 2549 ขยายตัวได้ ร้อยละ ต่อปี มูลค่าการส่งออกสินค้าและบริการในปี 2549 ขยายตัวได้ ร้อยละ ต่อปี ปริมาณการส่งออกสินค้าและบริการในปี 2549 ขยายตัวร้อยละ ต่อปี ขยายตัวเร่งจากปีก่อน เนื่องจากแนวโน้มการส่งออกสินค้าสำคัญ เช่น อิเล็กทรอนิกส์และรถยนต์ ยังดีอยู่ตามอุปสงค์จากต่างประเทศ ประกอบกับสินค้าเกษตรหลัก เช่น ข้าว มันสำปะหลัง เริ่มส่งออกได้มากขึ้น ซึ่งฟื้นตัวจากภัยแล้งเมื่อปีที่ผ่านมา มูลค่าการส่งออกสินค้าและบริการในปี 2549 ขยายตัวได้ร้อยละ ต่อปี ชะลอลงจากปีก่อน เนื่องจากปริมาณการส่งออกสินค้าขยายตัว แต่ราคาขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงมาก ทั้งนี้ สถานการณ์ด้านการท่องเที่ยวกลับมาฟื้นตัวสู่แนวโน้มปกติหลังจากเจอ Tsunami เมื่อปีที่ผ่านมา จึงทำให้รายได้จากการท่องเที่ยวน่าจะดีขึ้น คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
35
คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
ผลการประมาณการ 5. อัตราการขยายตัวปริมาณ และมูลค่านำเข้าสินค้าและบริการ ปริมาณการนำเข้าสินค้าและบริการในปี 2549 ขยายตัวได้ ร้อยละ ต่อปี มูลค่าการนำเข้าสินค้าและบริการในปี 2549 ขยายตัวได้ ร้อยละ 9-10 ต่อปี ปริมาณการนำเข้าสินค้าและบริการในปี 2549 ขยายตัวร้อยละ ต่อปี ชะลอลงจากปีก่อน เนื่องจากมีการดูแลปริมาณการนำเข้าสินค้าสำคัญ 3 รายการ ได้แก่ น้ำมันดิบ เหล็ก และทองคำ มูลค่าการนำเข้าสินค้าและบริการในปี 2549 ขยายตัวได้ร้อยละ 9-10 ต่อปี ชะลอลงจากปีก่อน เนื่องจากทั้งปริมาณการส่งออกสินค้าและราคาสินค้านำเข้า ขยายตัวในอัตราที่ชะลอลง คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
36
คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
ผลการประมาณการ 6. ดุลการค้า ในปี 2549 ดุลการค้าขาดดุล -9.5 ถึง -7.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ใกล้เคียงปี 2548 ที่ขาดดุล -8.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในปี 2549 ดุลการค้าขาดดุล -9.5 ถึง -7.5 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ใกล้เคียงปี 2548 ที่ขาดดุล -8.6 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ มูลค่าส่งออกสินค้าในรูปดอลลาร์สหรัฐฯ ขยายตัวร้อยละ ต่อปี ชะลอลงจากปี 2548 ที่ขยายตัวร้อยละ 15.0 ต่อปี เนื่องจาก ราคาสินค้าส่งออกขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงมาก แม้ปริมาณสินค้าส่งออกจะขยายตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ ต่อปี มูลค่านำเข้าสินค้าในรูปดอลลาร์สหรัฐฯ ขยายตัว ร้อยละ ต่อปี ชะลอลงจากปี 2548 ที่ขยายตัวถึงร้อยละ 26.0 ต่อปี เนื่องจาก 1) ราคาสินค้านำเข้าขยายตัวในอัตราที่ชะลอลงมาก และ 2) ปริมาณสินค้านำเข้าชะลอตัวลง โดยเฉพาะในสินค้า 4 รายการ ได้แก่ น้ำมันดิบ เหล็ก ทองคำ และเครื่องบิน Export Value = %yoy Import Value = %yoy คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
37
คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
ผลการประมาณการ 7. ดุลบัญชีเดินสะพัด ในปี 2549 ดุลการบัญชีเดินสะพัดขาดดุล -5.0 ถึง -3.0 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ คิดเป็นร้อยละ -2.5 ถึง -1.5 ต่อปี ในปี 2549 คาดว่า ดุลบัญชีเดินสะพัดจะขาดดุลประมาณ -5.0 ถึง -3.0 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ หรือคิดเป็นร้อยละ -2.5 ถึง -1.5 ของ GDP ใกล้เคียงกับปี 2548 ที่ขาดดุล -3.7 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ หรือคิดเป็นร้อยละ -2.1 ของ GDP Trade Balance = -8.5 Bill.$ Service Balance = +6.0 Bill.$ Net Income and Transfers = -1.5 Bill.$ คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
38
คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
ผลการประมาณการ 8. อัตราเงินเฟ้อทั่วไป ในปี 2549 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปอยู่ที่ร้อยละ ต่อปี ชะลอตัวลงจากปี 2548 ที่ร้อยละ 4.5 ต่อปี ในปี 2549 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปอยู่ที่ร้อยละ ต่อปี ชะลอตัวลงจากปี 2548 ที่ร้อยละ 4.5 ต่อปี ชะลอตัวลงเนื่องจาก 1) ราคาน้ำมันดิบในปี 2549 ขยายตัวเพียงร้อยละ 20 ต่อปี ในขณะที่ราคาน้ำมันดิบในปี 2548 ขยายตัวถึงร้อยละ 45 ต่อปี 2) อัตราแลกเปลี่ยนเฉลี่ยบาทต่อดอลลาร์สหรัฐฯ มีแนวโน้มแข็งค่าขึ้นจากปี 2548 ร้อยละ 1.7 ต่อปี และ 3) อัตราดอกเบี้ยยังอยู่ในแนวโน้มขาขึ้น โดยล่าสุดธนาคารกลางของไทยยังคงปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบายเป็นร้อยละ 4.25 ต่อปี ทั้งนี้ จากการวิเคราะห์เบื้องต้นเกี่ยวกับการขึ้นค่าไฟฟ้าจาก 2.82 บาทต่อหน่วย เป็น 3.01 บาทต่อหน่วย พบว่า จะทำให้อัตราเงินเฟ้อทั่วไปสูงขึ้นร้อยละ 0.21 ต่อปี คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
39
คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
สรุปผลการประมาณการ ผลการประมาณการ 2548 2549 f (ณ ก.พ.) อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ (ร้อยละต่อปี) 4.5 ดุลบัญชีเดินสะพัด (พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ) ร้อยละต่อ GDP -3.7 -2.1 (-5.0)-(-3.0) (-2.5)-(-1.5) อัตราเงินเฟ้อทั่วไป (ร้อยละต่อปี) โดยสรุป GDP ขยายตัวประมาณ 5% ดุลบัญชีเดินสะพัดขาดดุลประมาณ -4 พันล้านดอลลาร์ สรอ. และอัตราเงินเฟ้อประมาณ 3% ถือว่าเป็นการขยายตัวอย่างแข็งแกร่ง และเสถียรภาพอยู่ในเกณฑ์ดี คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
40
นโยบายเศรษฐกิจในอนาคต
คณะกรรมการติดตามภาวะเศรษฐกิจและกำหนดนโยบายเศรษฐกิจมหภาค
41
เป้าหมายของการดำเนินนโยบายเศรษฐกิจ
การรักษาการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ (Economic Growth) การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ (Economic Stability) การจัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ (Efficient Resource Allocation) การกระจายรายได้และทรัพย์สินอย่างเป็นธรรม (Equitable Income Distribution) การดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจ ไม่ว่าจะเป็นนโยบายทางด้านการเงิน หรือ นโยบายทางด้านการคลังก็ดี ก็เพื่อที่จะบรรลุเป้าหมายทางเศรษฐกิจที่สำคัญ 4 ประการ ดังนี้ 1. การรักษาและเสริมสร้างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ: ซึ่งโดยทั่วไปแล้วการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจนี้จะวัดได้จากอัตราการเจริญเติบโตของผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (GDP Growth) เป้าหมายทางเศรษฐกิจประการที่ 2 ที่มีความสำคัญไม่ยิ่งหย่อนไปกว่ากันก็คือ การรักษาเศรษฐกิจของประเทศให้มีเสถียรภาพ ซึ่งหมายถึงการดูแลไม่ให้เศรษฐกิจมีความผันผวนมากจนเกินไป 3. นอกจากนี้ เป้าหมายทางเศรษฐกิจด้านการจัดสรรทรัพยากรให้แต่ละฝ่ายในระบบเศรษฐกิจนั้นจะต้องเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ และ 4. เป้าหมายสำคัญประการสุดท้ายก็คือ การกระจายรายได้และทรัพย์สินที่เป็นธรรม เพื่อลดความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจและสังคม เราจะเห็นได้ว่า นโยบายเศรษฐกิจต่างๆ ที่ได้ดำเนินการมา ก็เพื่อให้บรรลุถึงเป้าหมายทั้ง 4 ประการที่กล่าวข้างต้นนี้
42
นโยบายเศรษฐกิจปี 2548 - 2551 4 ปีที่ผ่านมา 4 ปีต่อจากนี้ไป
Dual Track Policies / Demand Management ????????? Internal Track = เศรษฐกิจ ภายในขยายตัวอย่างมี เสถียรภาพ/สร้างรายได้-ลดรายจ่าย-ขยายโอกาสสู่เศรษฐกิจฐานรากมากขึ้น External Track = เน้นการส่งออก/FTA การดำเนินนโยบายในช่วง 4 ปีที่ผ่านมา เรียกว่า นโยบายเศรษฐกิจแบบคู่ขนาน (Dual Track Policy) อันประกอบด้วย นโยบายด้าน Domestic Track คือ มุ่งกระตุ้นอุปสงค์ภายในประเทศ โดยเฉพาะในระดับฐานราก และอีกด้านหนึ่งคือนโยบายด้าน External Track โดยการเร่งการส่งออก โดยการลดอุปสรรคในการส่งออก และเร่งเจรจาทั้งทวิภาคี พหุภาคี เพื่อเปิดการค้าเสรีให้มากขึ้น การดำเนินนโยบายทางเศรษฐกิจ มาตรการ และโครงการต่างๆ ของรัฐบาลเพื่อฟื้นฟูและปรับโครงสร้างเศรษฐกิจทำให้เศรษฐกิจไทยที่เพิ่งผ่านพ้นวิกฤต ฟื้นตัวจนกลับสู่ภาวะปกติ สามารถขยายตัวได้อย่างแข็งแกร่ง มีเสถียรภาพมั่นคง ซึ่งถือว่าภาระกิจในการซ่อมเศรษฐกิจของรัฐบาลตลอดระยะเวลา 4 ปีที่ผ่านมา ประสบความสำเร็จเป็นอย่างดี ดังนั้น การดำเนินนโยบายในช่วงต่อไป ต้องดำเนินการเพื่อปฏิรูปเศรษฐกิจ เพื่อให้เศรษฐกิจไทยสามารถพัฒนาและมีการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน อันก้าวไปสู่ความเป็นประเทศพัฒนาแล้วต่อไป แต่กลยุทธ์ในการกำหนดนโยบายจะมีหน้าตาอย่างไร จำเป็นต้องดูภาวะเศรษฐกิจในปี 2548 เป็นสำคัญ
43
Supply Constraints วิกฤตเศรษฐกิจปี 2540 รัฐบาลปัจจุบันเข้ามาบริหาร
จุดเปลี่ยนนโยบายมาสู่การจัดการด้านอุปทาน
44
ควรให้ความสำคัญกับเสถียรภาพ ประสิทธิภาพ และการกระจายรายได้มากกว่าการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
Economic Stability Economic Efficiency Economic Distribution Economic Growth Demand Management Supply Management
45
เศรษฐกิจดีต้องมาจากรากฐานที่เข้มแข็ง
Grassroots Micro-economies Macro-economies Sectors Demand Management Consumption Investment Export of Goods and Services Government Expenditure Supply Management Factors Endowment Productivity National Saving Innovation and Value Added
46
นโยบายเศรษฐกิจปี 2548 - 2551 4 ปีที่ผ่านมา 4 ปีต่อจากนี้ไป
Dual Track Policies / Demand Management Value Creation / Supply Management Internal Track = เศรษฐกิจ ภายในขยายตัวอย่างมี เสถียรภาพ/สร้างรายได้-ลดรายจ่าย-ขยายโอกาสสู่เศรษฐกิจฐานรากมากขึ้น External Track = เน้นการส่งออก/FTA 4 ยุทธศาสตร์ในการบริหารเศรษฐกิจไทย การรักษาความมั่นคงและเสถียรภาพด้านการเงินการคลังอย่างต่อเนื่อง การปรับเปลี่ยนคนไทยสู่มิติคุณภาพ สร้างสังคมเชิงวิทยาการ ให้มีชุมชนที่เข้มแข็ง และมีสภาพแวดล้อมที่ดี นำเศรษฐกิจไทยให้ผลิตภาพและแข่งขันได้ บัดนี้ นโยบายการคลังและการเงินเพื่อแก้ไขปรับโครงสร้างเศรษฐกิจ (Recovery and Restructuring) ได้ลุล่วงไปได้อย่างดี (4 ปีซ่อม) นโยบายการคลังและการเงินต่อจากนี้ไปต้องเพื่อการปฏิรูปเศรษฐกิจ (Reform) ในปี 2548 จะถูกบันทึกว่าเป็นจุดเริ่มต้นของเปลี่ยนแปลงนโยบายการบริหารเศรษฐกิจ เพราะเมื่อกำลังการผลิตที่มีส่วนเกินเหลือกว่าครึ่งภายหลังวิกฤติ ได้ถูกเติมเต็มจากนโนบายการสร้าง Demand ในระยะที่ผ่านมา ต่อไปนี้จะต้องเป็นการบริหาร Supply ให้มีการขยายตัวอย่างมั่นคง และยั่งยืน ดังนั้น สถานการณ์ที่กำลังเผชิญอยู่นี้ถือเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญในเชิงนโยบายจากการจัดการเศรษฐกิจมหภาคที่เน้นด้านอุปสงค์มาเป็นการจัดการเศรษฐกิจมหภาคที่เน้นด้านอุปทาน และถือเป็นการท้าทายว่า เราจะสามารถบริหารจัดการเศรษฐกิจในระยะต่อจากนี้ไป ให้มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องมีคุณภาพ และเต็มศักยภาพ เพื่อยกระดับรายได้ของประเทศและประชากร โดยไม่ก่อให้เกิดปัญหาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจได้อย่างไร
47
Value Creation / Supply Management
มีเสถียรภาพการเงินและการคลัง นำคนไทยเข้า สู่มิติคุณภาพ นำเศรษฐกิจและสังคมไทย สู่การพัฒนาเชิงคุณภาพ ในส่วนของภาครัฐ ได้ทำสัญญาประชาคมหรือเป้าหมายในการทำงานของรัฐบาลใน 4 ด้าน คือ การรักษาความมั่นคงและเสถียรภาพด้านการเงินการคลังอย่างต่อเนื่อง การปรับเปลี่ยนคนไทยสู่มิติคุณภาพ สร้างสังคมเชิงวิทยาการ ให้มีชุมชนที่เข้มแข็ง และมีสภาพแวดล้อมที่ดี นำเศรษฐกิจไทยให้ผลิตภาพและแข่งขันได้ ซึ่งเป้าหมายทั้ง 4 ประการ จะนำเศรษฐกิจและสังคมไทยไปสู่การพัฒนาเชิงคุณภาพ นำเศรษฐกิจให้มีผลิตภาพและแข่งขันได้ สร้างสังคมเชิงวิทยาการ ชุมชนที่เข้มแข็ง สภาพแวดล้อมชีวิตที่ดี
48
สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง กระทรวงการคลัง
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.