งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

“ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "“ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง”"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 “ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง”
ประชุมวิชาการสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ครั้งที่ 11 ประจำปี 2553 วันที่ มิถุนายน 2553 “ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง” วันที่ 10 มิถุนายน 2553 คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น น.สพ. รุจเวทย์ ทหารแกล้ว DVM, EMBA กรรมการฝ่ายเผยแพร่วิชาการ สัตวแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

2 การเตรียมความพร้อมสัตวแพทย์ไทยกับอาเซียน ??????
“ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง” การเตรียมความพร้อมสัตวแพทย์ไทยกับอาเซียน ?????? สัตวแพทยสมาคมฯ มีการรองรับอย่างไร กับการผลิตปศุสัตว์ สัตว์เลี้ยง และสร้างความพร้อมให้สมาชิกสัตวแพทยสมาคมฯ ?????? ประชุมวิชาการ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มิ.ย.53

3 “ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง”
เนื้อหา : รู้จัก “อาเซียน” และ “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” ผลดีและข้อควรระวัง ของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจและการค้า การเตรียมความพร้อมของสัตวแพทย์ไทยกับอาเซียน สัตวแพทยสมาคมฯ มีการรองรับอย่างไรกับการผลิตปศุสัตว์ สัตว์เลี้ยง และสร้างความพร้อมให้สมาชิกสัตวแพทยสมาคมฯ ข้อคิดเห็นอื่นๆ ประชุมวิชาการ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มิ.ย.53

4 อาเซียน ASEAN (Association of South East Asian Nations)
“ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง” อาเซียน ASEAN (Association of South East Asian Nations) สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ อาเซียน ก่อตั้งเมื่อปี 2510 ครบรอบ 40 ปี เมื่อปี 2550 จุดประสงค์เริ่มแรก – สร้างความมั่นคง เพื่อต้านภัยคุกคามคอมมิวนิสต์ สมาชิก และปีที่เข้าเป็นสมาชิก TEN NATIONS, ONE COMMUNITY อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ ไทย บรูไนดารุสซาลาม เวียดนาม ลาว และ พม่า กัมพูชา ประชุมวิชาการ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มิ.ย.53

5 “ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง”
ประชุมวิชาการ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มิ.ย.53

6 “ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง”
ประชุมวิชาการ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มิ.ย.53

7 “ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง”
ประชุมวิชาการ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มิ.ย.53 ASEAN-CER = ASEAN Closer Economic Relations (Australia / New Zealand)

8 “ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง”
ประชุมวิชาการ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มิ.ย.53

9 “ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง”
ประชุมวิชาการ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มิ.ย.53

10 “ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง”
ประชุมวิชาการ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มิ.ย.53

11 ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจของอาเซียนที่สำคัญเท่าที่ผ่านมา
“ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง” ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจของอาเซียนที่สำคัญเท่าที่ผ่านมา ลงนามโดย นายกฯ อานันท์ ปันยารชุน เริ่มใช้ปี 2536 ลงนามโดย นายอำนวย วีรวรรณ เริ่มใช้ 2539 ลงนามโดย นายศุภชัย พานิชย์ภักดิ์ เริ่มใช้ ปี 2541 1. เขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area, AFTA) 2. กรอบความตกลงด้านการค้าบริการ (ASEAN Framework Agreement on Services, AFAS) 3. เขตการลงทุนอาเซียน (ASEAN Investment Area, AIA) ประชุมวิชาการ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มิ.ย.53

12 มุ่งสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
“ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง” เมื่อ พฤศจิกายน 2550 ผู้นำอาเซียนลงนามใน “ASEAN Charter” และ “ปฏิญญาว่าด้วยแผนงานการจัดตั้งประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” เพื่อยืนยันเจตนารมณ์ร่วมกันดำเนินการให้สำเร็จตามกำหนดในปี 2558 ปี 2550 รัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนลงนามรับรอง AEC Blueprint แผนงานการจัดตั้ง “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” (ASEAN Economic Community : AEC) ปี ผู้นำอาเซียนลงนามใน ปฏิญญาเซบู เร่งรัดการเป็น “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน”ให้เร็วขึ้น เป็นปี 2015 (2558) ปี ผู้นำอาเซียน ลงนามในปฏิญญาบาหลี (Bali Concord II) แสดงเจตนารมณ์การนำอาเซียนไปสู่ “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” (ASEAN Economic Community) ในปี 2020 (2563) มุ่งสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ประชุมวิชาการ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มิ.ย.53

13 กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter)
“ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง” กฎบัตรอาเซียน (ASEAN Charter) ประชาคมด้านการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน ประชุมวิชาการ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มิ.ย.53

14 แผนงานสำคัญภายใต้ AEC Blueprint
“ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง” แผนงานสำคัญภายใต้ AEC Blueprint เคลื่อนย้ายสินค้าเสรี เคลื่อนย้ายบริการเสรี เคลื่อนย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรี เคลื่อนย้ายการลงทุนอย่างเสรี เคลื่อนย้ายเงินทุนอย่างเสรี SINGLE MARKET AND SINGLE PRODUCTION BASE ประชุมวิชาการ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มิ.ย.53

15 การเตรียมความพร้อมสัตวแพทย์ไทยกับอาเซียน ??????
“ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง” ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ผลกระทบต่อวิชาชีพสัตวแพทย์ ?????? การเตรียมความพร้อมสัตวแพทย์ไทยกับอาเซียน ?????? สัตวแพทยสมาคมฯ มีการรองรับอย่างไร กับการผลิตปศุสัตว์ สัตว์เลี้ยง และสร้างความพร้อมให้สมาชิกสัตวแพทยสมาคมฯ ?????? ประชุมวิชาการ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มิ.ย.53

16 “ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง”
ไทย & AEC : ผลดีและข้อควรระวัง ผลดี การจัดตั้ง AEC เป็นการผนึกกำลังร่วมกันของภูมิภาค และเป็นรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ ที่สำคัญซึ่งอาเซียนจะได้ประโยชน์จากขนาดของตลาด และฐานการผลิตร่วมกัน (Economy of Scale) เพราะอาเซียนเป็นตลาดใหญ่มีประชากรประมาณ 520 ล้าน คน ผลิตภัณฑ์-มวลรวมภายในประเทศ (GDP) รวมกัน 10 ประเทศ ราว 700,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ และยังเป็นการสร้างอำนาจต่อรองทางการค้าในเวทีการค้าโลก การจัดตั้ง AEC ทำให้อาเซียนเป็นที่สนใจของประเทศต่างๆ ซึ่งต้องการเข้ามาร่วมมือ ทางการค้าและเศรษฐกิจมากยิ่งขึ้น ขณะนี้อาเซียนกำลังดำเนินการสร้างพันธมิตรนอก ภูมิภาค โดยขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจกับประเทศคู่เจรจาของอาเซียนหลาย ประเทศ ได้แก่ จีน อินเดีย ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ ออสเตรเลียและนิวซีแลนด์ สำหรับไทย การจัดตั้ง AEC จะเป็นผลดีต่อไทย เพราะอาเซียนเป็นภูมิภาคที่มีความ ใกล้ชิดกับไทยมากที่สุด ประกอบกับที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของไทยเอื้ออำนวยให้ไทยเป็น ศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของภูมิภาค และที่ผ่านมาอาเซียนมีความสำคัญทางเศรษฐกิจ กับไทยทั้งด้านการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว และมีแนวโน้มที่จะทวี บทบาท สำคัญมากขึ้นเรื่อยๆ ประชุมวิชาการ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มิ.ย.53

17 “ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง”
ข้อควรระวัง การก้าวไปสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในปี 2558 จำเป็นต้องมีแนวทางการดำเนินการที่มีประสิทธิ-ภาพ รวมทั้งความตั้งใจจริงของทุกประเทศร่วมกัน ขณะเดียวกันจากระดับการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศอาเซียนยังมี ความแตกต่างกันมาก โดยเฉพาะประเทศสมาชิกใหม่อาเซียน - กัมพูชา ลาว พม่า และเวียดนาม – จึงควรมีมาตรการลดช่องว่างความแตกต่างของระดับการพัฒนาเศรษฐกิจ และมีความจำเป็นที่จะต้องช่วยเหลือประเทศเหล่านี้ในการพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้สามารถเข้าสู่กระบวนการเปิดเสรีตามพันธกรณีต่างๆ ของอาเซียนให้ได้โดยเร็ว และเพื่อให้บรรลุเป้าหมายการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในที่สุด ประชุมวิชาการ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มิ.ย.53

18 “ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง”
การให้บริการข้ามพรมแดน การอนุญาตให้จัดตั้งธุรกิจ และให้บุคลากรจากประเทศอาเซียนอื่นเข้ามาทำงานได้ในสาขาต่างๆ ได้แก่ บริการวิชาชีพ (ด้านบัญชี ภาษีอากร วิศวกรรม สถาปัตยกรรม) บริการเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ โทรคมนาคมบางประเภทการก่อสร้าง การท่องเที่ยว (สำนักงานตัวแทนท่องเที่ยว และสวนสนุก) การขนส่งสินค้าและผู้โดยสารทางทะเล เป็นต้น นอกจากนี้ อาเซียนได้ตกลงที่จะจัดทำข้อตกลงยอมรับคุณสมบัติร่วมกัน (Mutual Recognition Agreements : MRAs) ของสาขาวิชาชีพ เพื่ออำนวยความสะดวกในการขอใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ทำให้บุคลากรผู้ให้บริการที่เป็นนักวิชาชีพ และแรงงานที่มีฝีมือสามารถไปทำงานในประเทศสมาชิกอื่นๆ ได้สะดวกขึ้น โดยกำหนดเป้าหมายการจัดทำ MRA ในสาขาวิศวกรรม และสาขาสถาปัตยกรรมให้เสร็จภายในปี 2547 เป็นลำดับแรก ก่อนที่จะดำเนินการในสาขาอื่นต่อไป ได้แก่ บัญชี และบุคลากรในธุรกิจท่องเที่ยว ประชุมวิชาการ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มิ.ย.53

19 “ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง”
สรุป การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจที่กระชับมากขึ้นเพื่อการเป็น AEC ทำให้เศรษฐกิจของอาเซียนมีความเกี่ยวเนื่องและเชื่อมโยงกันมากขึ้น ในด้านหนึ่งคือการเป็นส่วนหนึ่งของประชาคมเดียวกัน แต่ขณะเดียวกันสมาชิกอาเซียนก็จะต้องแข่งขันกันเองเพื่อดึงดูดการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว ดังนั้น การบรรเทาความขัดแย้งใน 2 ส่วนนี้จะต้องเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สำหรับประเทศไทย ต้องแข่งขันทางเศรษฐกิจกับประเทศในอาเซียน การพัฒนาขีดความสามารถทางการแข่งขันจึงเป็นสิ่งสำคัญ จากการสำรวจของ International Management Development (IMD) พบว่าอันดับขีดความสามารถในการแข่งขันของไทย หากเทียบกับประเทศในอาเซียน ไทยยังอยู่ในอันดับที่ต่ำกว่า สิงคโปร์และมาเลเซีย โดย IMD เห็นว่าไทยควรพัฒนาด้านประสิทธิภาพของภาครัฐ เช่น กฎหมายที่ส่งเสริมการแข่งขัน การแก้ไขปัญหาคอร์รัปชัน และการปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานทางสังคม เช่น อัตราการเข้าเรียนต่อในระดับมัธยมศึกษา และอัตราส่วนครูต่อนักเรียน ประชุมวิชาการ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มิ.ย.53

20 “ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง”
นอกจากนี้ การที่ไทยมีเป้าหมายที่จะเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของภูมิภาคในหลายๆ ด้าน เช่น ศูนย์กลางการท่องเที่ยวแห่งเอเชีย (Tourism Capital of Asia) และศูนย์กลางการบริการด้านสุขภาพ เพื่อดึงดูดนักลงทุนจากต่างชาติ จะต้องเผชิญกับการแข่งขันจากประเทศต่างๆ ในภูมิภาค โดยเฉพาะสิงคโปร์ มาเลเซีย และฮ่องกง ซึ่งมีแผนดึงดูดนักท่องเที่ยวเช่นกันเพื่อนำรายได้เข้าประเทศ ดังนั้น ภายใต้กระแสการเปิดเสรีของโลกที่เข้มข้นและสภาพทางธุรกิจที่แข่งขันรุนแรงในปัจจุบันนี้ ไทยควรพัฒนาขีดความสามารถทั้งด้านการค้า บริการและการลงทุน โดยส่งเสริมการพัฒนาด้านการวิจัยและพัฒนา (R&D) ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พัฒนาทักษะและสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ซึ่งจะส่งเสริมการเติบโตของภาคอุตสาหกรรม ประชุมวิชาการ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มิ.ย.53

21 “ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง”
สำหรับด้านการตลาด ควรพัฒนาให้แบรนด์ของไทยเป็นแบรนด์ของภูมิภาคและของโลก (Regional and Global Brands) ส่วนภาคเกษตรกรรมควรพัฒนาระบบการจัดการฟาร์มสมัยใหม่ พัฒนาพันธุ์ใหม่ๆ และพัฒนาคุณภาพสินค้าให้ได้มาตรฐาน เพื่อพัฒนาศักยภาพทางการแข่งขันของไทย ซึ่งจะเห็นได้ว่า นอกจากไทยต้องแข่งขันกับประเทศอาเซียนแล้ว ยังจะต้องแข่งขันกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชีย และจะต้องเตรียมพร้อมต่อการแข่งขันจากการเปิดเสรี FTA ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์ของภาครัฐในการจัดทำ FTA สองฝ่ายกับประเทศต่างๆ 8 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ ญี่ปุ่น จีน สหรัฐฯ อินเดีย บาร์เรน เปรู และกลุ่มเศรษฐกิจ BIMST-EC (บังคลาเทศ อินเดีย พม่า ศรีลังกา ไทย ภูฎาน และเนปาล) ประชุมวิชาการ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มิ.ย.53

22 “ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง”
STATUS REPORT (1) Livestock ASEAN cooperation in livestock continued to progress favorably, especially on the Regularization of Production and Utilization of Animal Vaccines; Promotion of International Trade in Livestock and Livestock Products; and Strengthening of Animal Diseases Control Program.  A number of new initiatives, including Common Stand on Codex Issues and Veterinary Drug Residues in Food are being initiated.  In efforts to regularize the production and utilization of animal vaccines, ASEAN agreed to improve existing mechanisms and procedures for the registration of animal vaccines manufactured within and outside ASEAN Member Countries. For this purpose, a single mechanism would be applied. The ASEAN Ministers on Agriculture and Forestry, at its 29th Meeting in Bangkok in November 2007 endorsed the ASEAN Standard for Live Infectious Bronchitis Vaccine (revised), and Inactivated Infectious Bronchitis Vaccine (revised). The Ministers also endorsed the re-accreditation of the National Veterinary Drug Assay Laboratory (NVDAL), Gunung Sindur, Indonesia as an ASEAN Vaccine Testing Laboratories for specific 9 animal vaccines for a period of 3 years. ประชุมวิชาการ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มิ.ย.53

23 “ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง”
STATUS REPORT (2) Livestock Strengthening regional coordination on animal health and zoonoses The outbreak of the Highly Pathogenic Avian Influenza (HPAI) in several ASEAN Member Countries since December 2003 greatly affected the economies  in the region. The poultry industry incurred heavy losses and the livelihoods of many people were affected. Other sectors of the economy, such as tourism, were also affected albeit indirectly, caused by the fear of the disease. A major concern is the ability of the virus to spread from diseased poultry to people. The Regional Framework for Control and Eradication of HPAI ( ) was developed in order to response the outbreak. ASEAN had concluded the implementation of the eight components under this Regional Framework ( ) in closed collaboration with international organization/ dialogue partners. Towards the conclusion of the Regional Framework, the 29th AMAF Meeting on 1 November 2007 in Bangkok endorsed the “ASEAN Regional Strategy for the Progressive Control and Eradication of HPAI ( )”. Trans-boundary animal diseases ประชุมวิชาการ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มิ.ย.53

24 “ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง”
STATUS REPORT (3) Livestock  ASEAN has established and signed the Agreement for Establishment of the ASEAN Animal Health Trust Fund (AHTF) in November 2006 in order to support the ASEAN activities to control and eradicate animal disease in the region.  In this area, ASEAN also acknowledged the importance of partnership and support provided by various international organizations and donor agencies, especially for technical support and capacity building. ASEAN and OIE agreed to enhance the working relationship through the signing of an MOU for cooperation in the fields of animal health, animal welfare and veterinary public health as well as other areas of common interest. ประชุมวิชาการ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มิ.ย.53

25 “ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง”
Infrastructure and Technical Requirements ASEAN Reference Laboratories (ARLs) Six laboratories located in Malaysia, Singapore, Thailand and Viet Nam serving as ARLs for mycotoxins, pesticide residues, veterinary drugs, microbiology, heavy metals and genetically modified organisms. ASEAN Common Food Control Requirements (ACFCR) - ASEAN Common Principles for Food Control Systems - ASEAN Common Principles and Requirements for the Labelling of Prepackaged Food - ASEAN Common Principles and Requirements for Food Hygiene ASEAN Common Technical Dossiers (ACTD) ASEAN Common Technical Requirements (ACTR) ASEAN Common Submission Dossier for Medical Devices Medical Devices Pharmaceuticals Prepared Foodstuff ประชุมวิชาการ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มิ.ย.53

26 “ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง”
วิชาชีพสัตวแพทย์ สาขาวิชาชีพสัตวแพทย์ไม่ได้มีข้อผูกพันไว้ทั้งกับ WTO และ ASEAN ความพร้อมในการรองรับการเปิดเสรีภายใต้ “การจัดตั้งธุรกิจเพื่อให้บริการ” (Commercial presence) และ “การให้บริการโดยบุคคลธรรมดา” (Presence of natural persons) กฎหมายภายใต้ความรับผิดชอบของกรมปศุสัตว์ 6 ฉบับ เป็นกฎหมายเฉพาะ ไม่ได้มี บทบัญญัติใดๆ กำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับ การลงทุนโดยคนต่างชาติและไม่ได้ห้าม บุคคลดังกล่าวประกอบกิจการแต่อย่างใด การลงทุนโดยคนต่างชาติและการอนุญาตให้นักลงทุนจากต่างประเทศเข้ามาประกอบ กิจการ จะต้องพิจารณาตามบทบัญญัติแห่งพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจของคน ต่างด้าว พ.ศ ด้วย พ.ร.บ.โรคระบาดสัตว์ พ.ศ และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2542 พ.ร.บ. บำรุงพันธุ์ พ.ศ.2509 พ.ร.บ. ควบคุมคุณภาพอาหารสัตว์ พ.ศ.2525 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2542 พ.ร.บ. สถานพยาบาลสัตว์ พ.ศ.2533 พ.ร.บ. โรคพิษสุนัขบ้า พ.ศ.2534 พ.ร.บ. ควบคุมการฆ่าสัตว์และจำหน่ายเนื้อสัตว์ พ.ศ.2535 ประชุมวิชาการ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มิ.ย.53

27 “ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง”
บทบาทของสัตวแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ต่อการเปลี่ยนแปลงของประชาคมอาเซียน (1) ศึกษาเนื้อหารายละเอียดของ 3 เสาหลัก (3 Pillars) ที่เป็นองค์ประกอบของประชาคมอาเซียน ได้แก่ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมแห่งความมั่นคง ประชามคมทางสังคมและวัฒนธรรม เข้าร่วมหารือและทำงานอย่างใกล้ชิดกับกรมปศุสัตว์และสมาคมต่างๆทางด้านวิชาชีพ สัตวแพทย์ ในกรณีที่เกิดผลกระทบในเชิงลบจากการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจของ อาเซียน เพื่อให้ความเห็น ข้อแนะนำและมาตรการที่จะช่วยลดผลกระทบที่อาจเกิด ขึ้นกับวิชาชีพสัตวแพทย์ เผยแพร่ความรู้และความเคลื่อนไหวในแง่มุมต่างๆ ของอาเซียน เช่น ข้อตกลงด้าน การค้า การบริการ ผลกระทบ เงื่อนเวลา เป็นต้น เพื่อให้สัตวแพทย์และผู้ประกอบการ เลี้ยงสัตว์ในประเทศไทยได้รับทราบข้อมูลผ่านสื่อต่างๆ เช่น การจัดสัมมนา-เสวนา โดยผู้เชียวชาญจากหน่วยงานที่รับผิดชอบ การส่ง e-news letter เป็นต้น ประชุมวิชาการ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มิ.ย.53

28 “ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง”
บทบาทของสัตวแพทยสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ต่อการเปลี่ยนแปลงของประชาคมอาเซียน (2) การรวบรวมและจัดทำธนาคารข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับประชาคมอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ฯลฯ บรรจุในเว็บไซด์ของสมาคมฯ เพื่อให้สมาชิก ผู้เลี้ยงสัตว์และผู้สนใจเข้าไปศึกษาข้อมูลเพื่อรับทราบข้อมูลและสามารถรับมือกับการเปลี่ยนแปลงได้ การจัดทำ TVMA-AEC Alert / Warning / Monitoring / Preparedness / Readiness เป็นต้น เพื่อเป็นการแจ้งความเคลื่อนไหวทางการค้า มติจากการประชุม ในกลุ่มประเทศอาเซียน การเปลี่ยนแปลงรายละเอียด กำหนดเวลา เป็นต้น ผ่านทาง ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ( ) ประชุมวิชาการ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มิ.ย.53

29 “ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง”
ประชุมวิชาการ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มิ.ย.53

30 “ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง”
เอกสารอ้างอิง: “เส้นทางแห่งโอกาสและการเตรียมความพร้อมสำหรับประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” โดย ดร.ธนิต โสรัตน์ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย อาเซียน และ “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” โดย นายสุภัฒ สงวนดีกุล ผู้อำนวยการ สำนักอาเซียน กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ สัมมนา “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน และการอุดหนุนสินค้าเกษตร ” จัดโดยสมาพันธ์ปศุสัตว์และเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำ 2552 การเปิดเสรีด้านการค้าบริการ รวบรวมโดย นายธานี ภาคทัย กลุ่มความร่วมมือการปศุสัตว์ระหว่างประเทศ สำนักพัฒนาการปศุสัตว์และถ่ายทอดเทคโนโลยี กรมปศุสัตว์ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) :ผลดี VS ผลเสีย ต่อเศรษฐกิจไทย บริษัท ศูนย์วิจัยกสิกรไทย จำกัด ประชุมวิชาการ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มิ.ย.53

31 “ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง”
ประชุมวิชาการ สัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มิ.ย.53


ดาวน์โหลด ppt “ผลกระทบของการเปิดอาเซียนกับธุรกิจปศุสัตว์และสัตว์เลี้ยง”

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google