ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
SMART Disclosure Program
Fiduciary Duties RPT-ได้มา/จำหน่ายไป ฝ่ายจดทะเบียนหลักทรัพย์ สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ (ก.ล.ต.)
2
กำหนดนโยบาย & กำกับดูแล
การกำกับดูแลกิจการ ผู้มีส่วนได้เสีย พนักงาน คู่ค้า เจ้าหนี้ ลูกค้า ชุมชน/สังคม ภาครัฐ ประเทศชาติ ฯลฯ แต่งตั้ง & ประเมินผลงาน ผู้ถือหุ้น สร้างมูลค่าเพิ่ม รับผิดชอบ Corporate Governance กำหนดนโยบาย & กำกับดูแล รับผิดชอบ & รายงาน คณะกรรมการบริษัท ฝ่ายจัดการ
3
Fiduciary duties ตาม กม.มหาชน vs กม.หลักทรัพย์ฯ
พ.ร.บ.บริษัทมหาชนจำกัด (ม.85) พ.ร.บ.หลักทรัพย์ฯ (ม.89/7) กรรมการ ของบริษัทมหาชนจำกัด ต้องปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับ และมติที่ประชุมผู้ถือหุ้นด้วย ความซื่อสัตย์สุจริตและระมัดระวัง รักษาผลประโยชน์ของบริษัท กรรมการและผู้บริหาร ของ บริษัทจดทะเบียนและบริษัท ที่เสนอขายหุ้น ต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วย ความรับผิดชอบ ความระมัดระวัง และความซื่อสัตย์สุจริต รวมทั้งต้องปฏิบัติ ให้เป็นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ ข้อบังคับบริษัท มติคณะกรรมการ และมติ ที่ประชุมผู้ถือหุ้น
4
หน้าที่ความรับผิดชอบ ของกรรมการและผู้บริหาร
การปฏิบัติหน้าที่ของกรรมการและผู้บริหาร Fiduciary Duties ภายใต้ พ.ร.บ. หลักทรัพย์ฯ หลักความระมัดระวัง (Duty of Care) หลักความซื่อสัตย์สุจริต (Duty of Loyalty)
5
หลักความระมัดระวัง (Duty of Care)
กรรมการและผู้บริหารต้องปฏิบัติหน้าที่เยี่ยงวิญญูชน ผู้ประกอบธุรกิจจะพึงกระทำภายใต้สถานการณ์อย่างเดียวกัน Safe Harbour ถือว่าทำหน้าที่แล้ว หาก... ตัดสินใจด้วยความเชื่อโดยสุจริตและสมเหตุสมผล เพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทเป็นสำคัญ ตัดสินใจบนพื้นฐานข้อมูลที่เชื่อโดยสุจริตว่าเพียงพอ ตัดสินใจกระทำโดยตนไม่มีส่วนได้เสีย ไม่ว่าโดยตรงหรือ โดยอ้อมในเรื่องที่ตัดสินใจนั้น
6
หลักความซื่อสัตย์สุจริต (Duty of Loyalty)
กรรมการและผู้บริหารต้องปฏิบัติหน้าที่ ด้วยความซี่อสัตย์สุจริต กระทำการโดยสุจริตเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัทเป็นสำคัญ กระทำการที่มีจุดมุ่งหมายโดยชอบและเหมาะสม ไม่กระทำการใดอันเป็นการขัดหรือแย้งกับประโยชน์ ของบริษัทอย่างมีนัยสำคัญ การไม่ทำรายการที่เกี่ยวโยงกันตามเกณฑ์ การใช้ข้อมูลที่ล่วงรู้มาและยังไม่เปิดเผย การนำทรัพย์สินหรือโอกาสของบริษัทไปใช้
7
รายการสำคัญที่ต้องระวังเรื่อง Fiduciary Duties
1. รายการเกี่ยวโยงกัน (รายการ RPT) คือ รายการระหว่างบริษัทจดทะเบียน หรือ บ.ย่อย กับบุคคลทีเกี่ยวโยงกันของบริษัทจดทะเบียน 2. รายการได้มาจำหน่ายไปซึ่งทรัพย์สิน คือ การทำรายการขนาดใหญ่ที่มีผลกระทบต่อ ฐานะการเงินและผลการดำเนินงานของ บริษัทจดทะเบียนอย่างมีนัยสำคัญ
8
หลักการของเกณฑ์ RPT รายการ RPT ทำได้
แต่เพื่อไม่ให้ผิด fiduciary duties… รายการต้องโปร่งใสและเป็นธรรม บริษัทได้ประโยชน์สูงสุดเสมือนทำกับบุคคลอื่น ดำเนินการตามตามขั้นตอนที่ถูกต้อง - เปิดเผยข้อมูลให้นักลงทุนทราบ - ขออนุมัติต่อคณะกรรมการบริษัท - ขออนุมัติต่อที่ประชุมผู้ถือหุ้น (เรียงตามความมีนัยสำคัญของขนาดรายการ)
9
เกณฑ์ RPT บุคคลที่เกี่ยวโยงกัน ของบริษัทจดทะเบียน บุคคลธรรมดา
กรรมการ ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นรายใหญ่ บุคคลที่มีอำนาจควบคุมกิจการ ++ ผู้ที่จะเป็นกรรมการ/ผู้บริหาร/ บุคคลที่มีอำนาจควบคุมกิจการ ผู้ที่เกี่ยวข้อง / ญาติสนิท บุคคลธรรมดา นิติบุคคล บริษัทจดทะเบียน และ/หรือ บริษัทย่อย ทำรายการ นิติบุคคลที่มีผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือ บุคคลที่มีอำนาจควบคุมกิจการ เป็น บุคคลข้างต้น รายการที่มีมูลค่านัยสำคัญ (เกิน 3% เมื่อเทียบกับ NTA ของบริษัท) ต้องขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น โดยมี IFA ร่วมให้ความเห็น
10
1<x<20 ลบ. หรือ 0.03%<x<3%NTA
เกณฑ์ RPT รายการขนาดเล็ก < 1 ลบ. / < 0.03% NTA รายการขนาดกลาง 1<x<20 ลบ. หรือ 0.03%<x<3%NTA รายการขนาดใหญ่ > 20ลบ. / > 3% NTA ขนาดรายการ ฝ่ายจัดการ ดำเนินการได้เลย เปิดเผยสารสนเทศ ต่อ SET ขออนุมัติ Board เปิดเผยสารสนเทศ ต่อ SET ขออนุมัติ Board ขออนุมัติผู้ถือหุ้น มี IFA ให้ความเห็น การดำเนินการ ยกเว้น - รายการที่มีข้อตกลงทางการค้าเสมือนการทำรายการกับบุคคลภายนอก สามารถขออนุมัติหลักการจาก Board ได้
11
หลักการของ ได้มา/จำหน่ายไป
เมื่อบริษัทจะ ได้มา/จำหน่ายไปทรัพย์สิน เช่น ซื้อ ขาย โอน รับโอน ได้สิทธิ สละสิทธิ ลงทุน หรือ ยกเลิกลงทุน ซึ่งกระทบต่อฐานะและผลการดำเนินงาน อย่างมีนัยสำคัญต้องดูแลสิทธิของผู้ถือหุ้น โดย เปิดเผยข้อมูลให้ผู้ถือหุ้นทราบ หากรายการมีนัยสำคัญมาก ต้องให้ผู้ถือหุ้นมีส่วนร่วม ในการตัดสินใจ โดยการขออนุมัติจากผู้ถือหุ้นก่อน กรรมการและผู้บริหารต้องตัดสินใจตาม หลัก fiduciary duties
12
เกณฑ์ได้มา/จำหน่ายไป
บุคคล/ นิติบุคคลใดๆ ซื้อ-ขาย โอนออก-รับโอน แลกเปลี่ยน ได้สิทธิ-สละสิทธิ ลงทุน-ยกเลิกลงทุน บมจ. / บ.ย่อย ได้มาหรือจำหน่ายไป ทรัพย์สินที่มีตัวตนและไม่มีตัวตน1 1/ การได้มาจำหน่ายไปซึ่งทรัพย์สินหมุนเวียนจาก operation เช่น วัตถุดิบ ลูกหนี้การค้า สินค้าคงเหลือ เงินสด เงินฝาก บริษัทอาจอธิบายเหตุผล และความจำเป็นในการขอยกเว้นได้ รายการที่มีขนาดใหญ่ (เกิน 50% ตามเกณฑ์ที่กำหนด) ต้องขออนุมัติจากที่ประชุมผู้ถือหุ้น โดยมี IFA ร่วมให้ความเห็น
13
กรณี ได้มา/จำหน่ายไป รายการขนาดเล็ก รายการขนาดกลาง รายการขนาดใหญ่
< 15% รายการขนาดกลาง 15% < X < 50% รายการขนาดใหญ่ > 50% ขนาดรายการ ฝ่ายจัดการ ดำเนินการได้เลย กรณีที่มีการ ออกหลักทรัพย์ ต้องเปิดสารสนเทศ ต่อ SET ด้วย เปิดเผยสารสนเทศ ต่อ SET ส่งหนังสือเวียน ถึงผู้ถือหุ้นภายใน 21 วันนับจากวันที่ แจ้ง SET เปิดเผยสารสนเทศ ต่อ SET ขออนุมัติผู้ถือหุ้น มี IFA ให้ความเห็น การดำเนินการ
14
ผู้เกี่ยวข้องกับการทำรายการ
- ให้ความเห็นต่อผู้ถือหุ้นเกี่ยวกับ ความสมเหตุสมผลของการทำรายการ ความเหมาะสมของราคา และเงื่อนไข IFA ผู้ประเมินมูลค่าทรัพย์สิน คณะกรรมการบริษัท AC ผู้บริหาร - ประเมินมูลค่าทรัพย์สินที่เกี่ยวข้อง - ต้องเป็นผู้ประเมินใน list กลต. และเป็น รายงานประเมินเพื่อวัตถุประสงค์สาธารณะ - ให้ความเห็นว่าควรทำรายการหรือไม่ - รายการนั้นจะเป็นประโยชน์ต่อบริษัทอย่างไร - เสนอวาระที่คณะกรรมการเห็นควรทำรายการ ให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณา - ให้ความเห็นเกี่ยวกับการทำรายการ หาก AC มีความเห็นแตกต่างจาก คณะกรรมการบริษัทต้องระบุความเห็นให้ชัด - เปิดเผยรายละเอียดรายการให้ผู้ลงทุนทราบ - พิจารณาผู้มีสิทธิออกเสียงในขอมติ การทำรายการดังกล่าว
15
IFA - ที่ปรึกษาทางการเงินอิสระ
เนื่องจากเป็นผู้ให้ความเห็นเกี่ยวกับการทำรายการอย่าง เป็นอิสระต่อผู้ถือหุ้น รายงาน IFA จึงเป็นข้อมูลที่ช่วยผู้ถือหุ้น ในการตัดสินใจให้ความเห็นเกี่ยวกับการทำรายการ ดังนั้น บริษัทและผู้บริหารต้องร่วมมือและให้ข้อมูล ที่เกี่ยวข้องกับ IFA ข้อมูลที่ต้องให้ IFA เพื่อประกอบการให้ความเห็นของ IFA (1) รายละเอียดเกี่ยวกับการทำรายการ (2) สัญญาต่างๆ เกี่ยวกับการทำรายการ (3) ความเสี่ยงที่เกี่ยวข้องกับการทำรายการ (4) แผนงานในอนาคตของบริษัทหลังจากทำรายการ (5) สมมติฐานในการทำประมาณการ (6) ช่วยประสานงานกับผู้สอบบัญชี ผู้ประเมินราคาทรัพย์สิน (7) รายงานการประเมินราคาทรัพย์สิน (ถ้ามี) ซึ่งต้องเป็นรายงานประเมินเพื่อวัตถุประสงค์สาธารณะ
16
สารสนเทศที่ต้องเปิดเผยต่อ SET
When : วันที่เข้าทำรายการ Why : ความจำเป็น / ประโยชน์ / เหตุผล - ผลประโยชน์ที่จะเกิดจากการทำรายการ - ความเห็น Board ระบุความสมเหตุสมผล และประโยชน์ในการทำรายการ - ความเห็น AC กรณีที่เห็นต่างจาก Board - ข้อความที่ระบุว่ากรรมการที่มีส่วนได้เสีย ไม่มีสิทธิออกเสียง What : รายละเอียดรายการ - ลักษณะทั่วไปของรายการ รายละเอียดและ ลักษณะสินทรัพย์ บริการ - คำอธิบายธุรกิจที่จะทำต่อไป - แหล่งเงินทุนที่ใช้ ความพอเพียงของเงินทุน หมุนเวียน - เงื่อนไขที่มีผลกระทบกับผู้ถือหุ้น How much : มูลค่ารายการ - มูลค่ารวมของรายการ เกณฑ์ที่ใช้กำหนดมูลค่า และวิธีการคำนวณมูลค่ารายการ - วิธีการชำระเงินหรือสิ่งตอบแทน อัตราดอกเบี้ย และเงื่อนไขข้อตกลงในการทำรายการ Who : ทำรายการกับใคร - ชื่อคู่กรณี ตำแหน่ง สัดส่วนการถือหุ้น และส่วนได้เสียในรายการดังกล่าว - ความสัมพันธ์กับบมจ. ผู้บริหาร ผู้ถือหุ้นใหญ่ - ชื่อผู้เกี่ยวข้องและญาติสนิท
17
คำถามที่แนะนำก่อนตัดสินใจ ทำรายการใด ๆ
มีข้อมูลเพียงพอประกอบการตัดสินใจ? ทำไปเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัท? มีใครมีส่วนได้เสียกับรายการ เป็นรายการที่มี ความขัดแย้งทางผลประโยชน์? เป็นขนาดรายการใหญ่ เข้าเกณฑ์ได้มา/จำหน่ายไป ทรัพย์สิน? ทำกับคนเกี่ยวโยง เข้าเกณฑ์ RPT? ถ้าไม่ใช่คนเกี่ยวโยงจะทำรายการด้วยไหม?
18
Case Study
19
ตัวอย่างที่ 1 บมจ.กินดี จะขยายโรงงานอาหารกระป๋อง โดยจะซื้อที่ดิน 50 ไร่ จากมารดาของภรรยาของ MD (ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้น บมจ.กินดี 48%) มูลค่า 50 ล้านบาท และต้องลงทุนเพื่อสร้างโรงงานอีกทั้งหมด 800 ล้านบาท แม่ยายของ MD ถือหุ้น 48% ซื้อที่ดิน บมจ.กินดี มูลค่า 50 ลบ. ลงทุนเพิ่ม 800 ลบ. ที่ดิน 50 ไร่
20
คำถามก่อนทำรายการ มีข้อมูลเพียงพอประกอบการตัดสินใจ?
ทำไปเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัท? มีใครมีส่วนได้เสียกับรายการ? เป็นขนาดรายการใหญ่ เข้าเกณฑ์ได้มา/จำหน่ายไป? ทำกับคนเกี่ยวโยง เข้าเกณฑ์ RPT? ถ้าไม่ใช่คนเกี่ยวโยงจะทำรายการด้วยไหม?
21
ตัวอย่างที่ 1 (ต่อ) บมจ.กินดี จะขยายโรงงานอาหารกระป๋อง โดยจะซื้อที่ดิน 50 ไร่ จากมารดาของภรรยาของ MD (ซึ่งเป็นผู้ถือหุ้น บมจ.กินดี 48%) มูลค่า 50 ล้านบาท และต้องลงทุนเพื่อสร้างโรงงานอีกทั้งหมด 800 ล้านบาท ข้อมูลเพิ่มเติม จากฝ่ายจัดการของ บมจ.กินดี บมจ.กินดี มีสินทรัพย์รวม 800 ล้านบาท และส่วนของผู้ถือหุ้น 400 ล้านบาท (เท่ากับ NTA) ราคาประเมินที่ดิน ล้านบาท จากผู้ประเมิน list กลต. โรงงานปัจจุบันใช้กำลังการผลิตอยู่ที่ 85% โรงงานใหม่จะมีกำลังการผลิตเท่ากับโรงงานปัจจุบัน จะก่อสร้างและติดตั้งพร้อมผลิตภายใน 1 ปีนับจากนี้
22
ตัวอย่างที่ 1 (ต่อ) คำถาม
ถ้าท่านเป็นฝ่ายจัดการ ท่านเห็นว่าข้อมูลนี้เพียงพอ ที่จะเสนอคณะกรรมการ และให้ IFA หรือไม่? ถ้าท่านเป็นคณะกรรมการ จะทำอย่างไร?
23
ตัวอย่างที่ 1 (ต่อ) คณะกรรมการ บมจ.กินดี ให้ความเห็นว่าควรอนุมัติการซื้อที่ดินและขยายโรงงาน เนื่องจากในปัจจุบันโรงงานเดิมใช้กำลัง การผลิตเกือบเต็มแล้ว และราคาที่ดินที่ซื้อจากมารดาของภรรยา MD ก็เป็นราคาที่อยู่ในช่วงของราคาประเมิน
24
ตัวอย่างที่ 1 (ต่อ) เนื่องจากเป็นรายการที่ต้องขออนุมัติที่ประชุมผู้ถือหุ้น ซึ่งต้องมีความเห็นจาก IFA บมจ.กินดี จึงจัดให้มี IFA มาให้ความเห็น IFA ให้ความเห็นว่า ที่ดินที่จะซื้ออยู่ห่างไกลโรงงานปัจจุบันมา อาจเป็น อุปสรรคในการปรับเปลี่ยนการผลิตและการประสานงาน ยอดขายของ บมจ. กินดี เริ่มลดลงในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา และยังไม่มีแผนการตลาดที่ชัดเจนสำหรับการขายสินค้า ที่จะเพิ่มขึ้นจากการขยายโรงงาน การลงทุนขยายโรงงานอาจส่งผลกระทบต่อสภาพคล่อง ทางการเงินของบริษัทอย่างมาก เพราะใช้เงินลงทุนสูงมาก โดยสรุป IFA ไม่เห็นด้วยกับการทำรายการดังกล่าว
25
ตัวอย่างที่ 2 บมจ. พันธุ์พืช ซึ่งทำธุรกิจการเกษตร มีแผนที่จะซื้อหุ้น
ของ บริษัท เพิ่มพลัง จำกัด ที่ทำธุรกิจ Green Energy เพื่อที่จะขยายธุรกิจเพิ่มเติม จำนวน 49% มูลค่า 3 ลบ. โดย บมจ.พันธุ์พืช มีสินทรัพย์รวม 500 ล้านบาท ซื้อหุ้น ร้อยละ 49 มูลค่า 3 ลบ. บมจ. พันธุ์พืช บ.เพิ่มพลัง
26
คำถามก่อนทำรายการ มีข้อมูลเพียงพอประกอบการตัดสินใจ?
ทำไปเพื่อประโยชน์สูงสุดของบริษัท? มีใครมีส่วนได้เสียกับรายการ? เป็นขนาดรายการใหญ่ เข้าเกณฑ์ได้มา/จำหน่ายไป? ทำกับคนเกี่ยวโยง เข้าเกณฑ์ RPT? ถ้าไม่ใช่คนเกี่ยวโยงจะทำรายการด้วยไหม?
27
ตัวอย่างที่ 2 (ต่อ) บมจ. พันธุ์พืช ซึ่งทำธุรกิจการเกษตร มีแผนที่จะซื้อหุ้น ของ บริษัท เพิ่มพลัง จำกัด ที่ทำธุรกิจ Green Energy เพื่อที่จะขยายธุรกิจเพิ่มเติม จำนวน 49% มูลค่า 3 ลบ. โดย บมจ.พันธุ์พืช มีสินทรัพย์รวม 500 ล้านบาท ข้อมูลเพิ่มเติม จากฝ่ายจัดการของ บมจ.พันธุ์พืช บ.เพิ่มพลัง ไม่มีความเกี่ยวข้องกับ บมจ.พันธุ์พืช บ.เพิ่มพลัง มีแผนที่จะทำโรงไฟฟ้าปลอดมลพิษ มูลค่าโครงการ 2,000 ลบ. คาดว่าจะแล้วเสร็จ ในอีก 3 ปีข้างหน้า มีสัญญาระหว่าง บมจ.พันธุ์พืช และ บ.เพิ่มพลัง กำหนดให้ บมจ.พันธุ์พืช ต้องลงทุนเพิ่มตามสัดส่วน การถือหุ้นในแผนสร้างโรงไฟฟ้า (รวม 980 ล้านบาท)
28
ตัวอย่างที่ 2 (ต่อ) คำถาม
ฝ่ายจัดการ บมจ.พันธุ์พืช เห็นว่าเรื่องดังกล่าวเป็นการขยายธุรกิจโดยปกติของบริษัท อีกทั้งขนาดรายการไม่มีนัยสำคัญ จึงไม่จำเป็นต้องขออนุมัติผู้ถือหุ้น คำถาม ถ้าท่านเป็นคณะกรรมการท่านจะพิจารณาอย่างไร? ถ้าท่านเป็น AC จะให้ความเห็นอย่างไร? ควรเสนอเรื่องให้ที่ประชุมผู้ถือหุ้นพิจารณา?
29
Q&A
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.