งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กลุ่มที่ 3 ธรรมาภิบาลทางการเมืองกับนโยบายเศรษฐกิจ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กลุ่มที่ 3 ธรรมาภิบาลทางการเมืองกับนโยบายเศรษฐกิจ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กลุ่มที่ 3 ธรรมาภิบาลทางการเมืองกับนโยบายเศรษฐกิจ
กลุ่มที่ 3 ธรรมาภิบาลทางการเมืองกับนโยบายเศรษฐกิจ ประธานกลุ่ม ดร. วรพล โสคติยานุรักษ์ รองประธาน สภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ

2 กรอบความคิด 1. วิกฤติเศรษฐกิจเป็นวิกฤติของธรรมาภิบาล
2. ธรรมาภิบาลเศรษฐกิจ เชื่อมโยงกับธรรมาภิบาลทางการเมือง

3 บทความและผู้นำเสนอ (1)
1. เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการปราบคอร์รัปชั่น โดย ศ.ดร. เมธี ครองแก้ว กรรมการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป. ป. ช.) 2. ธรรมาภิบาลในการกำกับดูแลตลาดหลักทรัพย์ฯ โดย คุณสฤณี อาชวานันทกุล นักวิชาการอิสระ

4 บทความและผู้นำเสนอ (2)
3. การผูกขาดทางธุรกิจกับการเมือง โดย ดร. เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ ทีดีอาร์ไอ 4. ทุนสัมปทานกับธรรมาภิบาลทางเศรษฐกิจ โดย ดร. สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ ทีดีอาร์ไอ

5 เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการปราบคอร์รัปชั่น
ศ.ดร. เมธี ครองแก้ว กรรมการการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป. ป. ช.)

6 เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการปราบคอร์รัปชั่น (1)
เศรษฐศาสตร์สามารถวิเคราะห์ปัญหาคอร์รัปชั่น เพื่อความเข้าใจและเสนอการแก้ไข คอร์รัปชั่นสร้างความไร้ประสิทธิภาพทางเศรษฐศาสตร์ และสร้างความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจ

7 เศรษฐศาสตร์ว่าด้วยการปราบคอร์รัปชั่น (2)
คอร์รัปชั่นเกิดจากอำนาจตัดสิน (discretionary power) “ค่าเช่าทางเศรษฐกิจ” (economic rent) และ สถาบันที่อ่อนแอ (weak institution) ลดคอร์รัปชั่นโดยการสร้างสถาบันที่เข้มแข็ง ไม่เปิดให้เจ้าหน้าที่อำนาจในการตัดสินโดยไม่โปร่งใส เพิ่มการตรวจสอบและลด “ค่าเช่าทางเศรษฐกิจ” ข้อถกเถียงเรื่อง “ระบบดี” vs “คนดี”

8 ธรรมาภิบาลในการกำกับดูแล ตลาดหลักทรัพย์
ธรรมาภิบาลในการกำกับดูแล ตลาดหลักทรัพย์ คุณสฤณี อาชวานันทกุล นักวิชาการอิสระ

9 ความท้าทายในการกำกับดูแล (1)
สัดส่วนของนักลงทุนรายย่อย (free float) ยังต่ำมาก แต่ซื้อขายสูงสุด สะท้อนการเก็งกำไร? กรรมการของ ตลท. ยังไม่มีตัวแทนนักลงทุน รัฐและองค์กรกึ่งรัฐถือหุ้นอย่างน้อย 22.1% ในตลาดหุ้น องค์กรรัฐและเจ้าหน้าที่รัฐในตลาดทุนมี “หมวกหลายใบ” ก.ล.ต. มีสัดส่วนกรรมการจากภาคการเมืองสูงมาก กระทรวงการคลัง ก.ล.ต. กำกับดูแล บมจ. การบินไทย กองทุนรวมวายุภักษ์ สำนักงานประกันสังคม ถือหุ้น 30% ถือหุ้น 17% คณะกรรมการ ถือหุ้น 0.50% ถือหุ้น 54%

10 ความท้าทายในการกำกับดูแล (2)
การปั่นหุ้นและใช้ข้อมูลภายในยังมีการปรับและกล่าวโทษน้อย บทลงโทษของไทยต่ำกว่าและยังขาดประสิทธิผลในการลงโทษ สิทธิของนักลงทุนรายย่อยไทยยังไม่เพียงพอ หุ้นเก็งกำไรส่วนใหญ่ไม่เคยถูก H/SP และนักลงทุนไม่สนใจ

11 การปรับและกล่าวโทษ การเปรียบเทียบปรับ การกล่าวโทษ รวม
การเปรียบเทียบปรับ การกล่าวโทษ รวม กรณีความผิด 1 ม.ค รายการ ร้อยละ สร้างราคาหุ้น (ปั่นหุ้น) 22 2.7% 3 1.8% 25 2.5% ใช้ข้อมูลภายใน 10 1.2% 1 0.6% 11 1.1% ไม่ส่งรายงานการถือ/ได้มาและจำหน่ายหลักทรัพย์ตามกฎ 77 9.5% 6 3.6% 83 8.5% ไม่ทำคำเสนอซื้อหลักทรัพย์ตามมาตรา 247 (ข้ามเส้นทุก 25%) 8 1.0% - 0.8% ฉ้อโกงบริษัท/ตกแต่งบัญชีเพื่ออำพราง 5 55 32.7% 60 6.1% ส่งงบการเงินล่าช้า/ไม่ตรงตามมาตรฐานบัญชี 212 26.1% 3.0% 217 22.1% ส่งรายงานประจำปีหรือเอกสารอื่นล่าช้า 90 11.1% 9.2% เปิดเผยสารสนเทศไม่ครบถ้วนหรือเป็นเท็จ 18 2.2% 21 2.1% ให้บริการซื้อขายหลักทรัพย์โดยไม่มีใบอนุญาต 80 47.6% 8.2% บล. บันทึกเทปคำสั่งไม่ครบถ้วน/เจ้าหน้าที่การตลาดไม่ขึ้นทะเบียน 44 5.4% 4.5% บล. ขายโดยไม่มีหลักทรัพย์อยู่ในครอบครอง  66 8.1% 6.7% สถาบันการเงินบกพร่องหรือทุจริตในหน้าที่ 244 30.0% 245 25.0% สถาบันการเงินจัดทำรายงานไม่ครบถ้วน 16 2.0% 1.6% ความผิดอื่นๆ (เช่น ไม่มาให้การตามคำสั่ง) 0.1% 14 8.3% 15 1.5% 813 100.0% 168 981

12 การผูกขาดทางธุรกิจกับการเมือง
ดร. เดือนเด่น นิคมบริรักษ์ ทีดีอาร์ไอ

13 สามเหลี่ยมเหล็กแห่งการผูกขาด?
ที่มา สุริยะใสและรจิตกนก, 2545

14

15 ทุนสัมปทานกับธรรมาภิบาล ทางเศรษฐกิจ
ทุนสัมปทานกับธรรมาภิบาล ทางเศรษฐกิจ ดร. สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ ทีดีอาร์ไอ

16 เปรียบเทียบตระกูล “เจ้าสัว” ที่ลง-ไม่ลงเลือกตั้ง
ลงเลือกตั้ง (13 ตระกูล) ไม่ลงเลือกตั้ง (87 ตระกูล) สินทรัพย์เฉลี่ย (ล้านเหรียญ) 4,418.46 486.46 % รายได้จากธุรกิจสัมปทาน 22.9 2.5 % กำไรต่อทรัพย์สิน 2.4 2.8 % หนี้สินต่อทรัพย์สิน 39.5 49.6 ที่มา: Bunkanwanicha and Wiwattanakantang (2006)

17 นโยบายรัฐเอื้อประโยชน์ธุรกิจสัมปทานอย่างไร?
ผู้บริโภค ผู้เสียภาษี คู่แข่ง หน่วยงานรัฐ

18 ความเสียหาย (ล้านบาท)
ความเสียหายที่เกิดในรัฐบาลทักษิณ (1) มาตรการ/นโยบาย ความเสียหาย (ล้านบาท) ผลกระทบอื่นๆ การจัดเก็บภาษีสรรพสามิตกิจการโทรคมนาคม โดยยกเว้นให้แก่ผู้รับสัมปทาน 39,000 - กีดกันการเข้าสู่ตลาดของรายใหม่ - บั่นทอนฐานะทางการเงินของ ทศท. - กสท. การยกเว้นภาษีเพื่อส่งเสริมการลงทุนแก่ ชิน แซทเทลไลท์ 16,459 - สร้างการแข่งขันที่ไม่เป็นธรรมในตลาดโทรคมนาคมในประเทศ การปรับลดค่าสัมปทานของบริการโทรศัพท์พรีเพด 13,420

19 ความเสียหายที่เกิดในรัฐบาลทักษิณ (2)
มาตรการ/นโยบาย ความเสียหาย (ล้านบาท) ผลกระทบอื่นๆ การให้เงินกู้ EXIM Bank แก่พม่า 950 - สร้างภาระต่อผู้เสียภาษีไทยและพม่า อาจสร้างปัญหาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ การแก้สัญญาของเทเลอินโฟมีเดีย 713 - สร้างภาระต่อผู้ใช้โทรศัพท์ สร้างภาระต่อรัฐวิสาหกิจและผู้เสียภาษี การยกเลิกสัญญาให้บริการวิทยุติดตามตัวของ แอดวานซ์ เพจจิ้ง 500 - สร้างภาระต่อรัฐวิสาหกิจที่ต้องให้บริการแทน และขาดรายได้จากค่าสัมปทาน รวม 71,042


ดาวน์โหลด ppt กลุ่มที่ 3 ธรรมาภิบาลทางการเมืองกับนโยบายเศรษฐกิจ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google