ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยChuia Sutabuhr ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
แผนและยุทธศาสตร์ สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พ.ศ
2
นโยบายรัฐบาลด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และนวัตกรรม
6. นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม 1. นโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดำเนินการในปีแรก 6.1 เร่งพัฒนาให้ประเทศไทยเป็นสังคมที่อยู่บนพื้นฐานของ องค์ความรู้ โดยพัฒนาความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ให้ประชาชนได้ใช้ในชีวิตประจำวัน ให้ทัดเทียมกับพัฒนาการในระดับนานาชาติ จัดให้มีแหล่งความรู้สาธารณะเพิ่มขึ้น ทั้งในรูปองค์กร เช่น พิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ สิ่งพิมพ์ และผ่านทางเครือข่ายเทคโนโลยี สารสนเทศ ตลอดจนยกมาตรฐานการศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทุกระดับ 6.2 เร่งสร้างนักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย และครูวิทยาศาสตร์ ให้เพียงพอต่อความต้องการของประเทศ เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศอย่างมั่นคง และนำพาประเทศไทยเข้าสู่ระบบเศรษฐกิจฐานความรู้แบบสร้างสรรค์และนวัตกรรมใหม่ พัฒนาสายงานการวิจัยเพื่อให้นักวิจัยมีระบบความก้าวหน้าในวิชาชีพ รวมทั้งพัฒนาแหล่ง งานด้านการวิจัยเพื่อรองรับบุคลากรการวิจัยทั้งในภาครัฐและเอกชน 6.3 สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการลงทุนและความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน รวมทั้งสถาบันการศึกษาขั้นสูงให้เกิดการวิจัยและพัฒนา และการถ่ายทอดเทคโนโลยี เพื่อมุ่งสู่การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมซึ่งครอบคลุมตั้งแต่ การพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาคเกษตรกรรม ภาคอุตสาหกรรม และภาคการบริการโดยเฉพาะในสาขาที่ประเทศไทยมีศักยภาพสูงและจำเป็นต่อการพัฒนาประเทศ เช่น สาขาความหลากหลายทางชีวภาพ 6.4 จัดระบบบริหารงานวิจัยให้เกิดประสิทธิภาพสูง โดยการจัดเครือข่ายความร่วมมือเพื่อการวิจัยระหว่างหน่วยงานและสถาบันวิจัยที่สังกัดภาคส่วนต่าง ๆ ในประเทศ รวมทั้งสถาบันอุดมศึกษาเพื่อลดความซ้ำซ้อนและทวีศักยภาพ จัดทำแผนวิจัยแม่บทเพื่อมุ่งเป้าหมายของการวิจัยให้ชัดเจน เน้นให้เกิดการวิจัยที่ครบวงจรตั้งแต่การวิจัยพื้นฐานไปถึงการสร้างผลิตภัณฑ์โดยมุ่งให้เกิดห่วงโซ่คุณค่าในระดับสูงสุด ส่งเสริมการลงทุนด้านการวิจัยโดยมุ่งเข้าสู่ระดับร้อยละ ๒ ของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ 6.5 ส่งเสริมการใช้ข้อมูลเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ เพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การวางแผนการผลิตด้านการเกษตร การป้องกัน และแก้ไขปัญหาภัยพิบัติ ยกระดับคุณภาพชีวิต และเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขัน ของประเทศ 1.4 ส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการและเร่งรัดขยายเขตพื้นที่ชลประทาน 1.13 สนับสนุนการพัฒนางานศิลปหัตถกรรมและผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อการสร้างเอกลักษณ์และการผลิตสินค้าในท้องถิ่น สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ
3
6. นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม
นโยบายรัฐบาล กับยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1. นโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดำเนินการในปีแรก 6. นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม นโยบายรัฐบาล 1.4 ส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการและ เร่งรัดขยายเขตพื้นที่ชลประทาน 1.13 สนับสนุนการพัฒนางานศิลปหัตถกรรมและผลิตภัณฑ์ ชุมชนเพื่อการสร้างเอกลักษณ์และการผลิตสินค้าในท้องถิ่น 6.1 เร่งพัฒนาให้ประเทศไทยเป็นสังคมที่อยู่บนพื้นฐานขององค์ความรู้ 6.2 เร่งสร้างนักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย และครูวิทยาศาสตร์ ให้เพียงพอต่อความต้องการของประเทศ เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศอย่างมั่นคง 6.3 สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการลงทุนและความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน รวมทั้งสถาบันการศึกษาขั้นสูงให้เกิดการวิจัยและพัฒนา และการถ่ายทอดเทคโนโลยี 6.4 จัดระบบบริหารงานวิจัยให้เกิดประสิทธิภาพสูง 6.5 ส่งเสริมการใช้ข้อมูลเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ 1. การส่งเสริมและเร่งรัดการพัฒนากำลังคนด้าน วทน. ให้เป็นพลังของประเทศ 2. การสร้างความตระหนัก และพัฒนา การเรียนรู้ด้าน วทน.ให้เป็นสังคมฐานความรู้ 3. การวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม สร้างฐานความรู้และเพิ่มผลิตภาพของประเทศ 4. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบสนับสนุนการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมให้เพียงพอ รวมทั้งพัฒนานโยบาย การบริหารจัดการด้าน วทน. ให้มีประสิทธิภาพและทันสมัย 5. การถ่ายทอดเทคโนโลยีและมีการนำผลงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมไปใช้ในการเพิ่มผลผลิตเชิงพาณิชย์และการบริการสังคม ยุทธศาสตร์ วท. 6. การพัฒนาและส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศ 1. กำลังคนทางด้าน วทน. ที่ได้รับการเสริมสร้างขีดความสามารถโดยการศึกษา/อบรม สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม หรือ การปฏิบัติงานด้าน วทน.ได้ 2. ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งเด็กและเยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจ และ ทัศนคติที่ดีต่อ วทน. 3. การวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมสามารถนำไปเผยแพร่ และประยุกต์ใช้ได้ในภาคการผลิต เกษตร บริการ และภาคสังคม/ชุมชน 4. ภาคการผลิตและบริการ ใช้ประโยชน์จากโครงสร้างพื้นฐานในการยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์และการบริการให้ได้มาตรฐาน รวมทั้งการพัฒนานโยบาย โครงสร้างพื้นฐาน ระบบสนับสนุนและการบริหารจัดการที่มีคุณภาพให้เพียงพอ 5. ผู้ประกอบการและชุมชนได้นำเทคโนโลยีไปใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคม 6. ภาคการผลิต บริการ และชุมชนได้นำเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ไปใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และภัยพิบัติอย่างมีประสิทธิผล เป้าประสงค์ วท. สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ 9 ก.ย. 2554
4
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พ. ศ
กรอบยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙ สำหรับใช้ในการจัดทำคำของบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๕ เป็นองค์กรที่ได้รับการยอมรับความสามารถในการพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อสร้างปัญญาในสังคม สนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และความสามารถในการแข่งขันของประเทศอย่างยั่งยืน วิสัยทัศน์ ๓. ร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ สร้างคนดีและคนเก่งในทุกระดับ รวมทั้งสร้างความตระหนักด้าน วทน.ให้แพร่หลายและเป็นที่ยอมรับกับทุกภาคส่วนของประเทศ ๒. ริเริ่ม เร่งรัด ผลักดันและดำเนินการวิจัยและพัฒนา เพื่อสร้างองค์ความรู้ที่มีผลกระทบในเชิงเศรษฐกิจและสังคม ๔. พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ระบบสนับสนุนและกลไกด้านต่างๆ ที่เอื้อต่อการสร้างปัญญา และการนำองค์ความรู้ทางด้าน วทน.ไปใช้เพิ่มคุณค่ากับภาคการผลิต รวมถึงภาคสังคม ๕. สนับสนุนให้มีการถ่ายทอดเทคโนโลยี และสร้างนวัตกรรมให้แก่ภาคการผลิตและบริการ รวมทั้งบริการสังคมด้วยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อเพิ่มผลิตภาพทางเศรษฐกิจ และคุณภาพชีวิตของประชาชน ๑.เสนอแนะนโยบาย และจัดทำยุทธศาสตร์/ แผนด้าน วทน. โดยบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานในสังกัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พันธกิจ ค่านิยม Merit Modernization Outcome-Oriented Social Accountability Transparency Teamwork ๑. การส่งเสริมและเร่งรัดการพัฒนากำลังคนด้าน วทน. ให้เป็นพลังของประเทศ ๒. การสร้างความตระหนัก และพัฒนา การเรียนรู้ด้าน วทน.ให้เป็นสังคมฐาน ความรู้ ๓.การวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม สร้างฐานความรู้และเพิ่มผลิตภาพของประเทศ ๔. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบสนับสนุนการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมให้เพียงพอ รวมทั้งพัฒนานโยบาย การบริหารจัดการด้าน วทน. ให้มีประสิทธิภาพและทันสมัย ๕.การถ่ายทอดเทคโนโลยีและมีการนำผลงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมไปใช้ในการเพิ่มผลผลิตเชิงพาณิชย์และการบริการสังคม ๖. การพัฒนาและส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์ เป้าหมายที่ ๓ การวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมสามารถนำไปเผยแพร่ และประยุกต์ใช้ได้ในภาคการผลิต เกษตร บริการ และภาคสังคม/ชุมชน เป้าหมายที่ ๔ ภาคการผลิตและบริการ ใช้ประโยชน์จากโครงสร้างพื้นฐานในการยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์และการบริการให้ได้มาตรฐาน รวมทั้งการพัฒนานโยบาย โครงสร้างพื้นฐาน ระบบสนับสนุนและการบริหารจัดการที่มีคุณภาพให้เพียงพอ เป้าหมายที่ ๖. ภาคการผลิต บริการ และชุมชนได้นำเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ไปใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และภัยพิบัติอย่างมีประสิทธิผล เป้าหมายที่ ๑ กำลังคนทางด้าน วทน. ที่ได้รับการเสริมสร้างขีดความสามารถโดยการศึกษา/อบรม สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม หรือ การปฏิบัติงานด้าน วทน.ได้ เป้าหมายที่๒ ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งเด็กและเยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจ และ ทัศนคติที่ดีต่อ วทน. เป้าหมายที่ ๕ ผู้ประกอบการและชุมชนได้นำเทคโนโลยีไปใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคม เป้าประสงค์ ๗. จำนวนบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ(เรื่อง) ๘. จำนวนผลงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมที่สามารถ นำไปยื่นขอจดสิทธิบัตร (เรื่อง) ๙. จำนวนผลงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในภาคการผลิต เกษตร บริการและ ภาคสังคม/ชุมชน (เรื่อง) ๑๐. จำนวนผลงานวิจัยและพัฒนาที่ได้รับการต่อยอดและสนับสนุนจากกระทรวงวิทยาศาตร์และเทคโนโลยี (เรื่อง) ๑๑. จำนวนโครงการความร่วมมือด้าน วทน.ระหว่างประเทศที่มีกิจกรรมต่อเนื่องอย่างเป็นรูปธรรม โดยมีแผนปฏิบัติการรองรับและมีการติดตามประเมินผล (โครงการ) ๑๒.ร้อยละของหน่วยงานที่ใช้เทคโนโลยีนิวเคลียร์และรังสีที่ไม่เกิดอุบัติเหตุทางนิวเคลียร์และรังสี (ร้อยละ) ๑๓. จำนวนผู้มาใช้บริการในอุทยานวิทยาศาสตร์ (ราย) ๑๔. จำนวนธุรกิจใหม่ที่เกิดจากระบบสนับสนุนของ วท.(ราย) ๑๕. จำนวนการบริการวิเคราะห์ ทดสอบ สอบเทียบ และบริการข้อมูลทาง ว. และ ท. (รายการ) ๑๖. จำนวนรายการวัดของห้องปฏิบัติการที่ได้รับการพัฒนาและรับรองระบบงานตามมาตรฐานสากล (รายการ) ๑๗. ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดสามารถยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการได้ตามเป้าหมาย (ร้อยละ) ๑๘. จำนวนข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย แผน และแนวทาง ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมที่ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการระดับชาติ หรือคณะรัฐมนตรี หรือได้รับการผลักดันไปสู่การปฏิบัติ (เรื่อง) ๒๐. จำนวนเรื่องที่นำเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศไปใช้ประโยชน์(เรื่อง) ๑๙. จำนวนสถานประกอบการ/ชุมชนที่นำผลงานวิจัยและพัฒนาไปใช้ประโยชน์ (ราย) ๓. จำนวนผลงานที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ของเยาวชน(ผลงาน) ๔. จำนวนผู้ใช้บริการพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ (คน) ๕. จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรมด้าน วทน.(คน) ๖.จำนวนผู้ได้รับรางวัลเชิดชูเกียรติผลงานดีเด่นด้าน วทน. (คน) ๑. จำนวนกำลังคน วทน. ที่ได้รับการส่งเสริมให้ทำวิจัยและพัฒนา (คน) ๒. ร้อยละของผู้รับการฝึกอบรมหลักสูตรด้าน วทน. ที่สามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ (ร้อยละ) ตัวชี้วัด ๓.๑ ผลักดันการวิจัย พัฒนาและนวัตกรรม เพื่อสร้างองค์ความรู้และนำไปใช้ประโยชน์ในภาคการผลิต เกษตร และบริการ ๓.๒ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ๓.๓ ส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเพื่อเสริมสร้าง ความเข้มแข็งของสังคม ชุมชนและท้องถิ่น ๕.๑ ผลักดันการนำเทคโนโลยีเพื่อสร้างขีดความสามารถของภาคการผลิต เกษตร และบริการ ๕.๒ ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีเพื่อสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม ๕.๓ ถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่สังคม ชุมชนและท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ๔.๑ พัฒนาระบบทดสอบ สอบเทียบ วิเคราะห์คุณภาพและรับรองมาตรฐานให้ทันสมัย ๔.๒ ส่งเสริมและพัฒนาระบบการบริหารจัดการกิจการอุทยานวิทยาศาสตร์ ๔.๓ เร่งพัฒนาศูนย์ ว. และ ท. เฉพาะทาง เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศ ๔.๔ พัฒนาการบริหารจัดการด้าน วทน. ให้มีประสิทธิภาพ ๔.๕ พัฒนาคุณภาพการให้บริการทางด้านเทคโนโลยีอวกาศและ ภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ ๔.๖ สร้างความร่วมมือในการพัฒนานโยบาย/แผน/ แนวทาง วทน. ของประเทศ และสร้างความร่วมมือด้าน วทน. ระหว่างประเทศ ๖.๑ พัฒนาคุณภาพการให้บริการทางด้านเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ ๑.๑ ร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการผลิตและสร้างเส้นทางอาชีพบุคลากร วทน. ๑.๒ เสริมความรู้และทักษะให้แก่ผู้ทำงานทางด้าน วทน. ในภาคส่วนต่างๆ ๒.๑ สร้างการเรียนรู้และความคิดสร้างสรรค์ของเยาวชน และเผยแพร่ความรู้ด้าน วทน. สู่ประชาชน รวมทั้งเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร ๒.๒ เชิดชูเกียรตินักวิทยาศาสตร์ นักประดิษฐ์ ปราชญ์ชาวบ้าน กลยุทธ์ สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ 9 ก.ย.2554
5
ความเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ชาติ และยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ มาตรา 86, 85 (4) นโยบายและยุทธศาสตร์ระดับชาติ (ร่าง) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ ) ยุทธศาสตร์ที่ 6 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน นโยบายรัฐบาล/ แผนการบริหารราชการแผ่นดิน นโยบายเร่งด่วน ข้อ 1.4 นโยบาย วทน. ข้อ 6.3 (ร่าง) นโยบายและแผน วทน. แห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ ) ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาความเข้มแข็งของสังคม ชุมชน และท้องถิ่น ยุทธศาสตร์ที่ 3 การเสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของประเทศ (ร่าง) นโยบายและยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ ) กลุ่มเรื่องวิจัยที่ควรมุ่งเน้นตามยุทธศาสตร์การวิจัยของชาติ - การจัดการทรัพยากรน้ำ ยุทธศาสตร์การจัดสรงบประมาณ พ.ศ. 2555 ยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม 1 การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม 2. การส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย นโยบายกระทรวง/ นโยบายรัฐมนตรี แผนการบริหารจัดการน้ำ แผนยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1. การส่งเสริมและเร่งรัดการพัฒนากำลังคนด้าน วทน. ให้เป็นพลังของประเทศ 2. การสร้างความตระหนัก และพัฒนา การเรียนรู้ด้าน วทน.ให้เป็นสังคมฐาน ความรู้ 3.การวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม สร้างฐานความรู้และเพิ่มผลิตภาพของประเทศ 4. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบสนับสนุนการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมให้เพียงพอ รวมทั้งพัฒนานโยบาย การบริหารจัดการด้าน วทน. ให้มีประสิทธิภาพและทันสมัย 5.การถ่ายทอดเทคโนโลยีและมีการนำผลงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมไปใช้ในการเพิ่มผลผลิตเชิงพาณิชย์และการบริการสังคม 6. การพัฒนาและส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์ วท. 1. กำลังคนทางด้าน วทน. ที่ได้รับการเสริมสร้างขีดความสามารถโดยการศึกษา/อบรม สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม หรือ การปฏิบัติงานด้าน วทน.ได้ 2. ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งเด็กและเยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจ และ ทัศนคติที่ดีต่อ วทน. 3. การวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมสามารถนำไปเผยแพร่ และประยุกต์ใช้ได้ในภาคการผลิต เกษตร บริการ และภาคสังคม/ชุมชน 4. ภาคการผลิตและบริการ ใช้ประโยชน์จากโครงสร้างพื้นฐานในการยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์และการบริการให้ได้มาตรฐาน รวมทั้งการพัฒนานโยบาย โครงสร้างพื้นฐาน ระบบสนับสนุนและการบริหารจัดการที่มีคุณภาพให้เพียงพอ 5. ผู้ประกอบการและชุมชนได้นำเทคโนโลยีไปใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคม 6. ภาคการผลิต บริการ และชุมชนได้นำเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ไปใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และภัยพิบัติอย่างมีประสิทธิผล เป้าประสงค์ วท. แผนและยุทธศาสตร์สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน)
6
6. นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม
ความเชื่อมโยงกับนโยบายรัฐบาลและยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นโยบายรัฐบาล (นรม.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร) กับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และนวัตกรรม 1. นโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดำเนินการในปีแรก 1.4 ส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการและเร่งรัดขยายเขตพื้นที่ชลประทาน 1.13 สนับสนุนการพัฒนางานศิลปหัตถกรรมและผลิตภัณฑ์ชุมชนเพื่อการสร้างเอกลักษณ์และการผลิตสินค้าในท้องถิ่น 6. นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม 6.1 เร่งพัฒนาให้ประเทศไทยเป็นสังคมที่อยู่บนพื้นฐานของ องค์ความรู้ 6.2 เร่งสร้างนักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย และครูวิทยาศาสตร์ ให้เพียงพอต่อความต้องการของประเทศ เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศอย่างมั่นคง 6.3 สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการลงทุนและความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน รวมทั้งสถาบันการศึกษาขั้นสูงให้เกิดการวิจัยและพัฒนา และการถ่ายทอดเทคโนโลยี 6.4 จัดระบบบริหารงานวิจัยให้เกิดประสิทธิภาพสูง 6.5 ส่งเสริมการใช้ข้อมูลเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ แผนยุทธศาสตร์กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 1. การส่งเสริมและเร่งรัดการพัฒนากำลังคนด้าน วทน. ให้เป็นพลังของประเทศ 2. การสร้างความตระหนัก และพัฒนา การเรียนรู้ด้าน วทน.ให้เป็นสังคมฐาน ความรู้ 3.การวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม สร้างฐานความรู้และเพิ่มผลิตภาพของประเทศ 5.การถ่ายทอดเทคโนโลยีและมีการนำผลงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมไปใช้ในการเพิ่มผลผลิตเชิงพาณิชย์และการบริการสังคม ยุทธศาสตร์ วท. 4. การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและระบบสนับสนุนการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมให้เพียงพอ รวมทั้งพัฒนานโยบาย การบริหารจัดการด้าน วทน. ให้มีประสิทธิภาพและทันสมัย 6. การพัฒนาและส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการพัฒนาประเทศ 1. กำลังคนทางด้าน วทน. ที่ได้รับการเสริมสร้างขีดความสามารถโดยการศึกษา/อบรม สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการวิจัย พัฒนา และนวัตกรรม หรือ การปฏิบัติงานด้าน วทน.ได้ 2. ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย รวมทั้งเด็กและเยาวชน มีความรู้ ความเข้าใจ และ ทัศนคติที่ดีต่อ วทน. 3. การวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมสามารถนำไปเผยแพร่ และประยุกต์ใช้ได้ในภาคการผลิต เกษตร บริการ และภาคสังคม/ชุมชน 4. ภาคการผลิตและบริการ ใช้ประโยชน์จากโครงสร้างพื้นฐานในการยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์และการบริการให้ได้มาตรฐาน รวมทั้งการพัฒนานโยบาย โครงสร้างพื้นฐาน ระบบสนับสนุนและการบริหารจัดการที่มีคุณภาพให้เพียงพอ 6. ภาคการผลิต บริการ และชุมชนได้นำเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ ไปใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และภัยพิบัติอย่างมีประสิทธิผล 5. ผู้ประกอบการและชุมชนได้นำเทคโนโลยีไปใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคม เป้าประสงค์ ยุทธศาสตร์สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน : เสนอผลการวิจัยและพัฒนาเพื่อ ให้องค์การต่างๆ นำไปใช้ประโยชน์ ในการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหาร จัดการทรัพยากรน้ำและการเกษตร ผลผลิต : ฐานความรู้ และเทคโนโลยีด้านการจัดการทรัพยากรน้ำและการเกษตร 1. การวิจัย พัฒนา เทคโนโลยี และฐานความรู้ ด้านการจัดการทรัพยากรน้ำและการเกษตร 2. การให้บริการและเผยแพร่ผลงานวิจัย และเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้น 3. การสร้างเครือข่าย งานวิจัยและพัฒนา ด้านการจัดการทรัพยากรน้ำและการเกษตร 4. การถ่ายทอดเทคโนโลยี และนำผลงานวิจัยไปประยุกต์ใช้กับประชาชนและชุมชน 5. การสร้างแม่ข่ายการจัดการทรัพยากรน้ำชุมชน ด้วย ว และ ท ยุทธศาสตร์ เป้าหมายที่ 1 ผลงานวิจัยและฐานความรู้ ที่เป็นคำตอบใหม่ในการแก้ปัญหา เป้าหมายที่ 2 ผลงานวิจัย และเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้น สามารถนำไปเผยแพร่ และประยุกต์ใช้ได้ผลจริง เป้าหมายที่ 3 เกิดความร่วมมือ ด้านการศึกษา วิจัย เผยแพร่และแลกเปลี่ยนผลงานวิจัยและข้อมูล เป้าหมายที่ 4 ประชาชนและชุมชนได้นำเทคโนโลยีไปใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคม เป้าหมายที่ 5 แม่ข่ายมีศักยภาพในการดำเนินงานและขยายผล ด้านการจัดการทรัพยากรน้ำชุมชน เป้าประสงค์
7
แผนยุทธศาสตร์ สสนก. พ.ศ. 2555-2559
เป็นองค์กรที่สร้างองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับการบริหารจัดการด้านทรัพยากรน้ำและการเกษตร เพื่อรองรับสภาวะการเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติที่รุนแรงขึ้น และขยายผลการทำงานโดยการสร้างและพัฒนาเครือข่าย วิสัยทัศน์ 1. วิจัยและพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีด้านการจัดการทรัพยากรน้ำและการเกษตร 2. บริการและเผยแพร่ ผลงานวิจัย พัฒนา และสารสนเทศ เพื่อให้องค์การต่างๆ นำไปใช้ประโยชน์ในการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและการเกษตร 3. สร้างเครือข่ายงานวิจัยและพัฒนา และความร่วมมือ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ 4. บริการถ่ายทอดเทคโนโลยี และสนับสนุนการประยุกต์ใช้ผลงานวิจัยและพัฒนาของสถาบัน ให้กับประชาชนและชุมชน 5. พัฒนาต้นแบบความสำเร็จของการจัดการทรัพยากรน้ำชุมชน ให้มีศักยภาพและพร้อมที่จะขยายผล พันธกิจ ค่านิยม Innovative Trust Team & Networking 1. การวิจัย พัฒนา เทคโนโลยี และฐานความรู้ ด้านการจัดการทรัพยากรน้ำและการเกษตร 2. การให้บริการและเผยแพร่ผลงานวิจัย และเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้น 3. การสร้างเครือข่าย งานวิจัยและพัฒนาด้านการจัดการทรัพยากรน้ำและการเกษตร 4. การถ่ายทอดเทคโนโลยี และนำผลงานวิจัยไปประยุกต์ใช้กับประชาชนและชุมชน 5. การสร้างแม่ข่ายการจัดการทรัพยากรน้ำชุมชน ด้วย ว และ ท ยุทธศาสตร์ เป้าหมายที่ 1 ผลงานวิจัย และฐานความรู้ ที่เป็นคำตอบใหม่ในการแก้ปัญหา เป้าหมายที่ 2 ผลงานวิจัย และเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้น สามารถนำไปเผยแพร่ และประยุกต์ใช้ได้ผลจริง เป้าหมายที่ 3 เกิดความร่วมมือ ด้านการศึกษา วิจัย เผยแพร่และแลกเปลี่ยนผลงานวิจัยและข้อมูล เป้าหมายที่ 4 ประชาชนและชุมชนได้นำเทคโนโลยีไปใช้ประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสังคม เป้าหมายที่ 5 แม่ข่ายมีศักยภาพในการดำเนินงานและขยายผล ด้านการจัดการทรัพยากรน้ำชุมชน เป้าประสงค์ 1. จำนวนผลงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในภาคการผลิต เกษตร บริการ และภาคสังคม/ชุมชน (94 เรื่อง) 2. จำนวนผลงานวิจัย และพัฒนา ที่สามารถนำไปยื่นขอจดสิทธิบัตร (1 เรื่อง) 3. จำนวนบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (19 เรื่อง) 4. จำนวนหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรสาธารณกุศล สถาบันการศึกษา และชุมชน ที่นำผลงานวิจัยและพัฒนาไปใช้ประโยชน์ (144 ราย) 5. จำนวนบริการข้อมูลและวิเคราะห์ด้านสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (620 รายการ) 6. อัตราความถูกต้องของบริการข้อความสั้น (SMS) แจ้งเตือนปริมาณน้ำฝน ปริมาณน้ำในเขื่อน และพายุ (ร้อยละ 80) 7. จำนวนเทศบาล/อบต. ที่ใช้แผนที่แหล่งน้ำสนับสนุนการปฏิบัติงานและการวางแผนโครงการพัฒนาแหล่งน้ำในพื้นที่ได้ (2,800 ราย) 8. จำนวนโครงการความร่วมมือทั้งในและต่างประเทศที่มีกิจกรรมต่อเนื่องอย่างเป็นรูปธรรม (25 โครงการ) 9. จำนวนกิจกรรมที่นำผลงานไปถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน (270 กิจกรรม) 10. ร้อยละของผู้รับการฝึกอบรมหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ที่สามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ (ร้อยละ 80) 11. ร้อยละของชุมชนในโครงการจัดการน้ำชุมชนฯ 84 แห่ง ที่สามารถบริหารจัดการน้ำได้ด้วยตนเอง (ร้อยละ 80) 12. ร้อยละของชุมชนในเครือข่าย 40 ชุมชนที่เพิ่มขึ้นของโครงการจัดการน้ำชุมชนฯ 84 แห่ง ที่สามารถทำโครงสร้างน้ำได้สำเร็จ(ร้อยละ 80) 13. จำนวนแม่ข่ายด้านการจัดการทรัพยากรน้ำชุมชนที่มีศักยภาพและสามารถขยายผล (25 ราย) ตัวชี้วัดและ ค่าเป้าหมาย (5 ปี) 1.1 ผลักดันการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ในการแก้ปัญหา และใช้สนับสนุนการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและการเกษตร อย่างมีประสิทธิภาพ 2.1 ผลักดันให้เกิดการใช้ประโยชน์ และขยายผล งานวิจัยและเทคโนโลยีที่พัฒนาขึ้น 2.2 สร้างคลังข้อมูลและความรู้ด้านทรัพยากรน้ำ และพัฒนาคุณภาพข้อมูลและการให้บริการ 3.1 สร้างเครือข่ายและความร่วมมือเพื่อพัฒนางานวิจัยและบุคลากร 3.2 เผยแพร่ผลงานและตัวอย่างความสำเร็จ ให้เกิดความร่วมมือในระดับประเทศและระดับสากล 4.1 สร้างความเข้าใจและความเชื่อมั่นในการนำผลงานวิจัยและเทคโนโลยี ไปใช้ประโยชน์ 5.1 เร่งสร้างแม่ข่ายด้านการจัดการทรัพยากรชุมชน ให้มีศักยภาพและความพร้อมในการขยายผล กลยุทธ์ ผลผลิต ผลผลิต : ฐานความรู้ และเทคโนโลยีด้านการจัดการทรัพยากรน้ำและการเกษตร กิจกรรม ฐานความรู้ (Knowledge) การให้บริการ (Services) การสร้างศักยภาพ (Capability)
8
แผนงบประมาณของ สสนก. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555
ล้านบาท 1. นโยบายเร่งด่วนที่จะเริ่มดำเนินการในปีแรก ล้านบาท (ปี 55) 1.4 ส่งเสริมให้มีการบริหารจัดการน้ำอย่างบูรณาการและเร่งรัดขยายเขตพื้นที่ชลประทาน โครงการ/กิจกรรมของสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) งบประมาณ (ล้านบาท) ปี 2555 ปี 2556 ปี 2557 ปี 2558 1. โครงการจัดตั้งศูนย์คลังข้อมูลน้ำแห่งชาติ (รวมปี = ลบ.) Flagship วท. 2. โครงการพัฒนาภูมิสารสนเทศน้ำระดับตำบล (รวมปี = ลบ.) 3. โครงการปรับปรุงประสิทธิภาพและบำรุงรักษาสถานีโทรมาตรตรวจวัดสภาพอากาศอัตโนมัติ 8.0000 8.0000 4. โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลเสี่ยงภัยน้ำท่วมน้ำแล้ง 25 ลุ่มน้ำ - 5. โครงการจัดทำระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำ ทุกจังหวัด (ยกเว้น กทม.) 6. โครงการจัดทำฐานข้อมูลการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 4.0000 5.0000 5.0000 5.0000 6. นโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัย และนวัตกรรม ล้านบาท (ปี 55) 6.3 สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการลงทุนและความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชน รวมทั้งสถาบันการศึกษาขั้นสูงให้เกิดการวิจัยและพัฒนา และการถ่ายทอดเทคโนโลยี โครงการ/กิจกรรมของสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) งบประมาณปี 2555 1. กิจกรรมพัฒนาฐานความรู้และเทคโนโลยีด้านการจัดการทรัพยากรน้ำและการเกษตร ล้านบาท 2. โครงการสร้างแม่ข่ายการจัดการทรัพยากรน้ำชุมชนด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ล้านบาท 3. กิจกรรมการสร้างศักยภาพบุคคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และพัฒนาเครือข่ายการจัดการทรัพยากรน้ำ ล้านบาท 4.โครงการจัดการน้ำชุมชนเพื่อแก้ปัญหาภัยแล้ง น้ำท่วม ในพื้นที่นอกเขตชลประทาน โดยชุมชนอย่างยั่งยืน 84 แห่ง งบประมาณต่อเนื่องจากปี 54
9
ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ
ยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2555 6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและนวัตกรรม 6.1 การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม 6.2 การส่งเสริมและสนับสนุนการวิจัย 6.1.1 ส่งเสริมการเรียนรู้และความคิดสร้างสรรค์ของเยาวชนสนับสนุนให้มีแหล่งความรู้สาธารณะทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และเพิ่มโอกาสในการเข้าถึงข้อมูลข่าวสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีผ่านเครือข่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ 6.1.2 ส่งเสริมการผลิตบุคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 6.1.3 สนับสนุนภาคเอกชนและชุมชนในการพัฒนาขีดความสามารถด้านเทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ร่วมกับภาครัฐ 6.1.4 พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม ให้สอดคล้องกับความต้องการของภาคการผลิตและบริการ 6.1.5 ส่งเสริมการใช้ข้อมูลเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การวางแผนด้านการเกษตร และการป้องกันแก้ไขปัญหาภัยพิบัติ 6.2.1 สร้างความร่วมมือระหว่างนักวิจัยและสถาบันวิจัย ทั้งในระดับประเทศและในระดับภูมิภาค พัฒนากลไก สิ่งอำนวยความสะดวก บุคลากร เพื่อสนับสนุนการลงทุนด้านวิจัยพัฒนานวัตกรรม และสร้างองค์ความรู้ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เป้าหมายการให้บริการกระทรวง (เป้าหมายที่ 3) : การวิจัย พัฒนา และนวัตกรรมสามารถนำไปเผยแพร่ และประยุกต์ใช้ได้ในภาคการผลิต เกษตร บริการ และภาคสังคม/ชุมชน สถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (องค์การมหาชน) เป้าหมายการให้บริการหน่วยงาน : เสนอผลการวิจัยและพัฒนาเพื่อ ให้องค์การต่างๆ นำไปใช้ประโยชน์ ในการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและการเกษตร ผลผลิต : ฐานความรู้ และเทคโนโลยีด้านการจัดการทรัพยากรน้ำและการเกษตร กิจกรรม การให้บริการ ฐานความรู้ การสร้างศักยภาพ ล้านบาท + ล้านบาท + ล้านบาท 1. โครงการจัดตั้งศูนย์คลังข้อมูลน้ำแห่งชาติ [ ล้านบาท] = 2. โครงการจัดทำระบบภูมิสารสนเทศน้ำระดับตำบล [ ล้านบาท] งบประมาณ 3. โครงการปรับปรุงประสิทธิภาพและบำรุงรักษาสถานีโทรมาตรฯ [ ล้านบาท] ล้านบาท 4. โครงการสร้างแม่ข่ายการจัดการทรัพยากรน้ำชุมชนด้วย ว และ ท [ ล้านบาท] 5. โครงการพัฒนาระบบฐานข้อมูลเสี่ยงภัยน้ำท่วมน้ำแล้ง 25 ลุ่มน้ำ [ ล้านบาท] 6. โครงการจัดทำฐานข้อมูลการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ [ ล้านบาท] 7. โครงการจัดทำระบบภูมิสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำทุกจังหวัด [ ล้านบาท] ตัวชี้วัดเป้าหมายการให้บริการ ตัวชี้วัดผลผลิต 1. จำนวนผลงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมที่ สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในภาคการผลิต เกษตร บริการและ ภาคสังคม/ชุมชน (18 เรื่อง) 2. จำนวนบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ (3 เรื่อง) 3. จำนวนหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กร สาธารณกุศล สถาบันการศึกษา และชุมชน ที่นำ ผลงานวิจัยและพัฒนาไปใช้ประโยชน์ (60 ราย) 4. จำนวนบริการข้อมูลและวิเคราะห์ด้าน สารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร (120 รายการ) 5. อัตราความถูกต้องของบริการข้อความสั้น (SMS) แจ้งเตือนปริมาณน้ำฝน ปริมาณน้ำใน เขื่อน และพายุ (ร้อยละ 80) 6.จำนวนเทศบาล/อบต. ที่ใช้แผนที่แหล่งน้ำ สนับสนุนการปฏิบัติงานและการวางแผนโครงการ พัฒนาแหล่งน้ำในพื้นที่ได้ (200 ราย) 7. จำนวนโครงการความร่วมมือทั้งในและต่างประเทศที่ มีกิจกรรมต่อเนื่องอย่างเป็นรูปธรรม (5 โครงการ) 8. จำนวนกิจกรรมที่นำผลงานไปถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ ชุมชน (50 กิจกรรม) 9. ร้อยละของผู้รับการฝึกอบรมหลักสูตรด้าน วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ที่สามารถนำ ความรู้ไปใช้ประโยชน์ (ร้อยละ 80) 10. จำนวนแม่ข่ายด้านการจัดการทรัพยากรน้ำชุมชน ที่ มีศักยภาพและสามารถขยายผล (5 ชุมชน) เชิงปริมาณ - จำนวนฐานความรู้และเทคโนโลยีด้านการจัดการทรัพยากรน้ำและการเกษตร (รายการ) เชิงต้นทุน - ร้อยละของการเบิกจ่ายงบประมาณตามมาตรการเร่งรัดการใช้จ่ายเงินงบประมาณของรัฐบาล เชิงคุณภาพ - ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการฐานความรู้และเทคโนโลยีด้านการจัดการทรัพยากรน้ำและการเกษตร (ร้อยละ) เชิงเวลา - ระยะเวลาการดำเนินงานเป็นไปตามแผนปฏิบัติงาน (ร้อยละ) 9
10
ตัวชี้วัดประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555-2559
(1/2) ที่ ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมายปี 55 56 57 58 59 การให้บริการ 1 จำนวนหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรสาธารณกุศล สถาบันการศึกษา และชุมชน ที่นำผลงานวิจัยและพัฒนาไปใช้ประโยชน์ ราย 60 21 2 จำนวนบริการข้อมูลและวิเคราะห์ด้านสารสนเทศทรัพยากรน้ำและการเกษตร รายการ 120 125 130 3 อัตราความถูกต้องของบริการข้อความสั้น (SMS) แจ้งเตือนปริมาณน้ำฝน ปริมาณน้ำในเขื่อน และพายุ ร้อยละ 80 ฐานความรู้ 4 จำนวนผลงานวิจัย พัฒนาและนวัตกรรมที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในภาคการผลิต เกษตร บริการและ ภาคสังคม/ชุมชน เรื่อง 18 19 5 จำนวนบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการ 6 จำนวนผลงานวิจัย พัฒนา และเทคโนโลยี ที่สามารถนำไปยื่นขอจดสิทธิบัตร - การสร้างศักยภาพ 7 จำนวนโครงการความร่วมมือทั้งในและต่างประเทศที่มีกิจกรรมต่อเนื่องอย่างเป็นรูปธรรม โครงการ 8 จำนวนกิจกรรมที่นำผลงานไปถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน กิจกรรม 50 9 ร้อยละของผู้รับการฝึกอบรมหลักสูตรด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรม ที่สามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ 10 จำนวนแม่ข่ายด้านการจัดการทรัพยากรน้ำชุมชน ที่มีศักยภาพและสามารถขยายผล ชุมชน
11
ตัวชี้วัดประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555-2559
(2/2) ที่ ตัวชี้วัด หน่วยนับ เป้าหมายปี 55 56 57 58 59 Flagship Project 11 จำนวนเทศบาล/อบต. ที่ใช้แผนที่แหล่งน้ำสนับสนุนการปฏิบัติงานและการวางแผนโครงการพัฒนาแหล่งน้ำในพื้นที่ได้ ราย 200 600 1400 - โครงการจัดการน้ำชุมชน เพื่อแก้ปัญหาภัยแล้ง น้ำท่วม ในพื้นที่นอกเขตชลประทาน โดยชุมชนอย่างยั่งยืน 84 แห่ง 12 ร้อยละของจำนวนชุมชนภายใต้โครงการจัดการน้ำชุมชนเพื่อแก้ปัญหาภัยแล้ง น้ำท่วม ในพื้นที่นอกเขตชลประทาน โดยชุมชนอย่างยั่งยืน 84 แห่ง ที่สามารถบริหารจัดการน้ำได้ด้วยตนเอง ร้อยละ 80 13 ร้อยละของจำนวนชุมชนในเครือข่าย 40 ชุมชนที่เพิ่มขึ้นของโครงการจัดการน้ำชุมชนเพื่อแก้ปัญหาภัยแล้ง น้ำท่วม ในพื้นที่นอกเขตชลประทาน โดยชุมชนอย่างยั่งยืน 84 แห่ง ที่สามารถทำโครงสร้างน้ำได้สำเร็จ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.