งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นโยบายโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นโยบายโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นโยบายโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
นายแพทย์วินัย สวัสดิวร เลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ Asthma and COPD for Health Care Worker วันที่ 20 กรกฎาคม 2555

2 ปัญหา/ความสำคัญ WHO คาดการณ์ว่า COPD จะเป็นสาเหตุการตายอันดับ 3 ของโลกในปี 2030 เป็นโรคที่มีค่าความสูญเสียทางเศรษฐกิจ (COI : Cost of Illness) ปี 2552* คิดเป็น 0.14% หรือ 12,735 ล้านบาท เป็นโรคที่เกิดจากพฤติกรรมสุขภาพที่สามารถป้องกันและควบคุมได้ ควันบุหรี่และมลภาวะจากการเผาไหม้เป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญ กระทบต่อการดำเนินชีวิต กิจวัตรประจำวัน สร้างความวิตกกังวล กลัว ซึมเศร้า และลดคุณค่าในตัวผู้ป่วย เป็นภาระทางเศรษฐกิจของผู้ป่วย ครอบครัวและสังคม * อ้างอิงจาก รายงานการศึกษา การประมาณความสูญเสียทางเศรษฐกิจจากโรคเรื้อรังและปัจจัยเสี่ยง โดย โครงการศึกษาภาระโรคและปัจจัยเสี่ยงของประเทศไทย 2

3 WHO’s role : COPD Increase public awareness and aware of severity of associated problems : patients and health professionals Organize and co-ordinate global epidemiological surveillance : global & regional trend Develop and implement an optimal strategy for its management and prevention 3

4 WHO’s activities : COPD
GARD : Global Alliance against chronic Respiratory Disease >> improving global lung health. FCTC : Framework Convention on Tobacco Control >> globalization of the tobacco epidemic, to protect people from devastating impact and exposure to tobacco smoke. WHO’s Programme on Indoor Air Pollution >> collects and evaluates the evidence for impact of household energy on health, reducing health burden 4

5 การศึกษาเปรียบเทียบผลลัพธ์ จากการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วย COPD

6 แหล่งข้อมูล จากตัวอย่างรพ.ที่เข้าร่วมโครงการ Easy COPD clinic
รพ.ยางตลาด รพ.บุรีรัมย์ รพ.โนนสะอาด รพ.อุตรดิตถ์ ผลงาน R2R : การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรค COPD แบบไร้รอยต่อในรพ.ชุมชน รพ.เวียงป่าเป้า จ.เชียงราย

7 ผลลัพธ์จากการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยCOPD
อัตราการมาตรวจที่แผนกฉุกเฉิน (acute exacerbation) ลดลง อัตราการมารับบริการผู้ป่วยนอก (ก่อนเวลานัด) ลดลง อัตราการรับเข้าพักรักษาในรพ.ลดลง คุณภาพชีวิตผู้ป่วยเพิ่มขึ้น ความพึงพอใจผู้ป่วยเพิ่มขึ้น

8 ตารางเปรียบเทียบจำนวนครั้งของการนอนรพ
ตารางเปรียบเทียบจำนวนครั้งของการนอนรพ.ก่อนและหลังเข้าคลินิกในระยะเวลา 1 ปี N=118 ก่อน 1 ปี (จำนวนครั้ง/ปี) หลัง 1 ปี การนอนพักรักษาตัวที่โรงพยาบาลของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง 40 9 การมารับการรักษาที่ห้องฉุกเฉินหรือคลินิก 238 49

9 อัตรา ER-Visit และ Admit ของผู้ป่วย COPD รพ.บุรีรัมย์
คน/ครั้ง/ปี 0.40 0.26 0.17 0.14

10 อัตราการเกิด Acute exacerbation ของผู้ป่วยCOPD รพ.โนนสะอาด
Acute exacerbration : ER visit + admit

11 อัตราการเกิด acute respiratory failure ในผู้ป่วยCOPD รพ.โนนสะอาด

12 จำนวนผู้ป่วย COPD AE ที่ รพ. อุตรดิตถ์ รับ REFER จากรพ
จำนวนผู้ป่วย COPD AE ที่ รพ.อุตรดิตถ์ รับ REFER จากรพ.ในจังหวัดลดลง จากการสร้างเครือข่ายการดูแลผู้ป่วย COPD การส่งต่อข้อมูลอย่างเป็นระบบ ในแนวทางเดียวกันทั้งจังหวัด

13 R2R : การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วย COPD รพ.เวียงป่าเป้า จ.เชียงราย

14 R2R : การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วย COPD รพ.เวียงป่าเป้า จ.เชียงราย (ต่อ)
การนำผลวิจัยไปใช้ในงานประจำ: การศึกษานี้ได้ทำเป็น Clinical tracer ทำให้มองเห็นปัญหาและการพัฒนาในภาพรวมพบว่าระบบการดูแลผู้ป่วย COPD แบบไร้รอยต่อจำเป็นต้องใช้ทรัพยากรบุคคลมากขึ้น การรักษาผู้ป่วยนอกโดยเฉพาะการรักษาด้วยยาชนิดสูดพ่นมีค่าใช้จ่ายที่สูงขึ้น แต่สามารถลดอัตราการกำเริบของโรคได้จนเป็นที่น่าพอใจ ผลคือ อัตราการมารับการรักษาที่แผนกฉุกเฉิน (Exacerbations)และแผนกผู้ป่วยนอกก่อนเวลานัด (Revisits)ของผู้ป่วยลดลง อัตราการนอนโรงพยาบาลและอัตราการกลับมานอนโรงพยาบาลซ้ำ(Admissions/Readmissions)ของผู้ป่วยลดลง ค่าใช้จ่ายโดยรวมในการดูแลรักษาระยะยาวจึงลดลง ตรงกันข้ามกับคุณภาพชีวิตและความพึงพอใจของผู้ป่วยที่มากขึ้น.

15 นโยบาย ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มีระบบฐานข้อมูลบริการและสารสนเทศระดับ ประเทศ รองรับการประเมินสถานการณ์และกำกับ ติดตามคุณภาพบริการ ประสานงานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สร้างความตระหนัก ตั้งแต่ระดับบุคคลถึงระดับประเทศ ส่งเสริมการพัฒนาความรู้ ความเข้าใจการให้บริการส่งเสริม ป้องกัน รักษาและฟื้นฟูสภาพ สนับสนุนการใช้ และเข้าถึงเทคโนโลยีทางการแพทย์อย่างเหมาะสม 15

16 เป้าหมายการจัดบริการ
ป้องกันหรือชะลอการดำเนินโรค บรรเทาอาการ โดยเฉพาะอาการเหนื่อย ทำให้ exercise tolerance ดีขึ้น ทำให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น ป้องกันและรักษาภาวะแทรกซ้อน ป้องกันและรักษาอาการกำเริบ ลดอัตราการเสียชีวิต 16

17 การดำเนินงาน แต่งตั้งคณะทำงานจากทุกภาคส่วนทำหน้าที่พิจารณาการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังแบบครบวงจร ประสานความร่วมมือ สป.สธ. สสส. สมาคมอุรเวชช์ โรงเรียนแพทย์ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อบูรณาการงบประมาณ บุคลากร ทรัพยากร พัฒนาระบบฐานข้อมูลระดับประเทศ : national clinical excellent COPD clinic เสนอตั้งงบกองทุนสนับสนุน ส่งเสริมบริการโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง แยกจากงบเหมาจ่ายรายหัว สนับสนุนการพัฒนา/จัดอบรม ฟื้นฟูความรู้การให้บริการโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังแบบสหสาขาวิชาชีพ 17

18 การพัฒนาระบบบริการ ส่งเสริม ป้องกัน การหลีกเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงการเกิดโรค ค้นหา เพื่อวินิจฉัยและให้การรักษาตั้งแต่ระยะแรก ให้ความรู้ผู้ป่วยและครอบครัวเพื่อเพิ่มศักยภาพในการดูแลตนเอง ให้การดูแล รักษาผู้ป่วย โดยไม่เกิดอาการกำเริบ ให้การดูแล ฟื้นฟูสมรรถภาพ เพื่อเพิ่มคุณภาพชีวิต ให้การดูแล จนระยะสุดท้ายของชีวิต สนับสนุนการพัฒนาศักยภาพทีมบุคลากร เพื่อการดูแลแบบองค์รวม สนับสนุนการศึกษาวิจัยจากงานประจำเพื่อพัฒนางานบริการ 18


ดาวน์โหลด ppt นโยบายโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google