งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การเพิ่มค่าแรง 300 บาทต่อวัน: ทำได้หรือไม่อย่างไร?

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การเพิ่มค่าแรง 300 บาทต่อวัน: ทำได้หรือไม่อย่างไร?"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การเพิ่มค่าแรง 300 บาทต่อวัน: ทำได้หรือไม่อย่างไร?
ประเด็นอภิปรายในประเด็น “อัตราค่าจ้างแรงงานกับกลไกการจ้างงานในปัจจุบัน” โดย รศ.ดร. ยงยุทธ แฉล้มวงษ์ ผู้อำนวยการวิจัยด้านการพัฒนาแรงงาน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย

2 เศรษฐกิจไทยพึ่งพาภาคบริการและอุตสาหกรรม
GDP ราคาปัจจุบัน มูลค่าปี ล้านล้านบาท องค์ประกอบ ร้อยละ ภาคเกษตร ภาคนอกเกษตร การผลิต 3.08ล้านล้านบาทหรือ 34.1% การค้าและซ่อมบำรุง การเหมืองแร่และก่อสร้าง การไฟฟ้า แก๊สและประปา การบริการ 2.80ล้านล้านบาทหรือ 30.9% ๑ ภาคเอกชน ๒ ภาครัฐ

3 เศรษฐกิจไทยพึ่งพาอุตสาหกรรมขนาดกลางและขนาดย่อมเป็นสัดส่วนที่สูงมาก (ไป)
GDP: SMEsราคาปัจจุบัน มูลค่าปี ล้านล้านบาทจาก 9.09 ล้านล้านบาท (ขนาดใหญ่ 66.3% ขนาดกลาง 20.0%ขนาดเล็ก 13.7%) องค์ประกอบ ร้อยละ 33.7 ของ GDP การผลิต ล้านล้าน 30.4% การค้าและซ่อมบำรุง 1.02ล้านล้าน 29.9% การเหมืองแร่ % ก่อสร้าง % การไฟฟ้า แก๊สและประปา % การบริการภาคเอกชน 1.09ล้านล้าน 32.0%

4 การจ้างงานภาคที่เป็นทางการ ล้านคน %
จำนวน SMEs 2.90 ล้านราย (ขนาดใหญ่ 4,653 แห่ง ขนาดกลาง 12,065 แห่ง และขนาดเล็ก 2,883,282 แห่ง) แบ่งเป็นภาคการค้า 1.37 ล้านแห่ง ภาคบริการ 0.97ล้านแห่งและ ภาคการผลิต 0.55 ล้านแห่ง การจ้างงานภาคที่เป็นทางการ ล้านคน % SE ME LE Total (private employees) การจ้างงาน SMEs ล้านคน % ภาคการค้าและซ่อมบำรุง ภาคบริการ ภาคการผลิต รวม

5 อุตสาหกรรม SMEs ส่วนมากใช้เทคโนโลยีต่ำ
ทำให้ยกระดับผลิตภาพและค่าจ้างสูงๆยากมาก

6 รู้จักตลาดแรงงานไทย

7 เอกสารประกอบการประชุมประชาพิจารณ์ วันพุธที่ 22 มิถุนายน 2554 โรงแรมอุบลอินเตอร์เนชั่นแนล อ.เมือง จ.อุบลราชธานี จำนวนประชากร ประชากรในวัยแรงงาน และกำลังแรงงานในไตรมาส 3 ปี มีแนวโน้มขยายตัวน้อยมากและเข้าสู่สังคมสูงอายุ ที่มา: ข้อมูลการสำรวจภาวะการทำงานของประชากร สำนักงานสถิติแห่งชาติ

8 จำนวนกำลังแรงงานจำแนกตามระดับการศึกษาในไตรมาส 3 ปี 2551-2553
ที่มา: ข้อมูลการสำรวจภาวะการทำงานของประชากร สำนักงานสถิติแห่งชาติ 8 เอกสารประกอบการประชุมประชาพิจารณ์วันอังคารที่ 26 กรกฎาคม 2554 โรงแรมดิเอมเมอรัลด์ กรุงเทพมหานคร

9 การจ้างงานของไทยยังใช้ผู้มีการศึกษาต่ำ ระดับการศึกษาที่จบ (คน)
การจ้างงาน ไตรมาส 2 ปี 2552 แบ่งตามอาชีพ ระดับการศึกษาที่จบ ประเภทอาชีพ ระดับการศึกษาที่จบ (คน) ม.ต้นหรือ ต่ำกว่า ม.ปลาย ปวช ปวส ป.ตรี ป.โท ขึ้นไป รวม ผู้บัญญัติกฎหมาย ข้าราชการระดับอาวุโสและผู้จัดการ 413,124 125,950 44,357 71,688 267,534 124,914 1,047,567 ผู้ประกอบวิชาชีพด้านต่างๆ 36,223 16,748 12,094 30,101 1,180,737 211,199 1,487,102 ช่างเทคนิคสาขาต่างๆ และผู้ประกอบวิชาชีพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 275,037 146,436 127,455 266,500 661,961 42,127 1,519,516 เสมียน 259,839 198,467 133,582 226,762 575,463 32,114 1,426,227 พนักงานบริการ และพนักงานขายในร้านค้าและตลาด 4,270,056 996,305 358,078 392,658 596,855 40,237 6,654,189 ผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตรและการประมง 11,663,550 939,917 177,175 189,096 150,271 2,457 13,122,466 ผู้ปฏิบัติงานในธุรกิจด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง 3,778,938 467,641 187,647 245,384 118,506 2,113 4,800,229 ผู้ปฏิบัติการเครื่องจักรโรงงานและเครื่องจักร และผู้ปฏิบัติงานด้านการประกอบ 2,146,494 458,455 151,745 140,262 54,576 169 2,951,701 อาชีพขั้นพื้นฐานต่างๆ 4,076,923 392,819 85,188 82,238 47,847 5,331 4,690,346 26,920,184 3,742,738 1,277,321 1,644,689 3,653,750 460,661 37,699,343 ที่มา: ข้อมูลการสำรวจภาวะการทำงานของประชากร เฉลี่ย 4 ไตรมาส,สำนักงานสถิติแห่งชาติ 9 -9-

10 จำนวนผู้ว่างงาน อัตราการว่างงานในไตรมาส 3 และอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ ปี 2544-2553
ที่มา: ข้อมูลจำนวนผู้ว่างงานและอัตราการว่างงานได้จาก การสำรวจภาวะการทำงานของประชากร สำนักงานสถิติแห่งชาติ ข้อมูล GDP ได้จากสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 10 เอกสารประกอบการประชุมวันศุกร์ที่ 5 สิงหาคม 2554 ห้องประชุมปกรณ์ อังศุสิงห์ ชั้น 10 กรมพัฒนาฝีมือแรงงาน

11 จำนวนผู้ว่างงาน จำแนกตามระดับการศึกษา ในไตรมาส 3 ปี 2551-2553
ที่มา: ข้อมูลการสำรวจภาวะการทำงานของประชากร สำนักงานสถิติแห่งชาติ 11 เอกสารประกอบการประชุมประชาพิจารณ์วันอังคารที่ 26 กรกฎาคม 2554 โรงแรมดิเอมเมอรัลด์ กรุงเทพมหานคร

12 ประเทศไทยยังขาดแรงงานเข้าขั้นวิกฤติ
ผลสำรวจความต้องการแรงงาน ขาดแคลนแรงงาน และผู้ว่างงาน จำแนกตามระดับการศึกษา ปี 2551 (1) (2) (3) ที่มา: 1/ข้อมูลการสำรวจความต้องการแรงงานและขาดแคลนแรงงานของสถานประกอบการ ปี 2551 (สำนักงานสถิติแห่งชาติ,2552) 2/ข้อมูลผู้ว่างงานจากการสำรวจภาวะการทำงานของประชากร ปี 2551 เฉลี่ย 4 ไตรมาส (สำนักงานสถิติแห่งชาติ,2552) -12-

13 เปรียบเทียบเงินเดือนเฉลี่ยของ ลูกจ้างเอกชนกับประเทศ ปี 2552
13 เปรียบเทียบเงินเดือนเฉลี่ยของ ลูกจ้างเอกชนกับประเทศ ปี 2552 ที่มา: ข้อมูลสำรวจภาวะการมีงานทำของประชากร,สำนักงานสถิติแห่งชาติ

14 เปรียบเทียบเงินเดือนเฉลี่ยของ ลูกจ้างเอกชนกับประเทศ ปี 2552
14 D&S เปรียบเทียบเงินเดือนเฉลี่ยของ ลูกจ้างเอกชนกับประเทศ ปี 2552 ที่มา: ข้อมูลสำรวจภาวะการมีงานทำของประชากร,สำนักงานสถิติแห่งชาติ

15 ค่าจ้างขั้นต่ำควรเป็นค่าจ้างที่สะท้อนผลิตภาพของแรงงาน
ต้องเพียงพอต่อค่าครองชีพ ต้องมีความเป็นธรรม (เพื่อช่วยลดความเหลื่อมล้ำในสังคม) และ ต้องสะท้อนผลิตภาพของแรงงาน (ค่าจ้างนำผลิตภาพ?)

16 ค่าจ้างขั้นต่ำควรเป็นค่าจ้างที่เป็นธรรม (Fair wage)
ค่าจ้างที่เป็นธรรมก็ควรจะไม่แตกต่างไปจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจมากนักถือว่าเป็นการเฉลี่ยทุกข์เฉลี่ยสุขระหว่างนายจ้างกับลูกจ้าง

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

29 ทำไมต้องขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ(ที่สูงมาก)เท่ากันทั่วประเทศ

30 1) การขยายตัวของค่าจ้างขั้นต่ำไม่ทันค่าครองชีพ
ภาค การขยายตัวของค่าจ้างขั้นต่ำ (%) การขยายตัวของ CPI (%) NE North South Central Bangkok Country

31 2) การขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำในช่วงสิบปีที่ผ่านมาไม่น่าจะสะท้อนข้อเท็จจริงของค่าครองชีพ

32 3) สรุป เป็นการชดเชยค่าจ้างในส่วนของบางจังหวัดที่ไม่ได้ขึ้นค่าจ้างให้เท่ากับค่าครองชีพ (CPI) หรือไม่ได้เพิ่มเลยในหลายจังหวัด (เพิ่มค่าจ้างขั้นต่ำให้เป็นไปตามอัตภาพ) ต่อเนื่องกันหลายปี เป็นการเพิ่มค่าจ้างขั้นต่ำ เพื่อให้เป็นค่าจ้างที่เป็นธรรม (Fair Wage) กรณีที่เพิ่มค่าจ้างขั้นต่ำให้เกินไปกว่าค่าจ้างตามอัตภาพ เป็นการเฉลี่ยทุกเฉลี่ยสุขของนายจ้าง คืนกำไรให้กับแรงงาน (เหมือนเป็นค่าจ้างเพื่อคุณภาพชีวิต) เป็นค่าเพิ่มค่าจ้างขั้นต่ำสำหรับแรงงานแรกเข้าให้ใกล้เคียงกับผลิตภาพมากขึ้น ซึ่งในอดีตนับ 10 ปีที่ค่าจ้างขั้นต่ำอยู่ต่ำกว่าผลิตภาพเฉลี่ยของแรงงานในหลายภูมิภาคค่อนข้างมาก

33 ข้อควรพิจารณาร่วมกันบางประการในการหาทางออกในการขึ้นค่าแรงขั้นต่ำ 300 บาทเท่ากันทั่วประเทศ

34 1) ค่าจ้างแต่ละพื้นที่แตกต่างกันมาก
การขึ้นค่าจ้างขั้นต่ำให้เท่ากันทั่วประเทศทันทีอาจจะก่อให้เกิดผลกระทบต่อภาคการผลิตและบริการ ซึ่งในอดีตค่าจ้างขั้นต่ำมีความแตกต่างจากค่าจ้างเฉลี่ยของแต่ละภาคไม่เท่ากัน ดังตารางข้างล่างนี้ หมายเหตุ: ค่าจ้างปี 2553 ที่มีค่าจ้างเฉลี่ยแตกต่างจากค่าจ้างขั้นต่ำมาก เช่น ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นต้น

35 2) สถานประกอบการต้นทุนสูงโดยเฉพาะ SMEs ที่ปรับตัวไม่ทันจะต้องปิดกิจการและ/หรืออาจจะต้องย้ายบานไปประเทศอื่น ผลจากการที่ต้นทุนค่าจ้าง (ขั้นต่ำ) เพิ่มเป็นจำนวนสูงมากทันทีในจังหวัดของภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และแม้แต่ภาคอื่นๆ ที่มีสถานประกอบการ SMEs จำนวนมาก และใช้แรงงานแบบเข้มข้นจึงมีบางสถานประกอบการ (น่าจะหลายหมื่นแห่ง) ไม่สามารถปรับตัวสร้างผลกำไรได้ทันกันต้นทุนสูงขึ้นมากกว่า 9-16% อาจจะขาดทุนและต้องเลิกกิจการ ทำให้โอกาสการจ้างงานของ SMEs ในต่างจังหวัดลดลงเป็นจำนวนมาก เมื่อแรงงานไม่มีทางเลือกยังต้องเคลื่อนย้ายไปหางานทำในส่วนกลางของประเทศอยู่ดี ก่อให้เกิดการปรับตัวในโครงสร้างอุตสาหกรรมและกระบวนการผลิตและ/หรือการทำงานในสถานประกอบการอย่างกว้างขวาง โดยสถานประกอบการที่มีต้นทุน ค่าแรงสูง ถ้าเพิ่มผลิตภาพแรงานและ/หรือเพิ่มราคาสินค้าให้ได้สูงๆ มาชดเชยค่าจ้างที่สูงขึ้นไม่ได้ ก็จำเป็นต้องปรับลดคนงานประจำ (หันไปใช้คนงานจ้างเหมาช่วงชั่วคราว) หรือย้ายฐานการผลิตไปประเทศที่มีค่าแรงถูกกว่าหรือเลิกกิจการ

36 ทฤษฎีนี้ไม่สามารถสร้างสมดุลได้ในวันเดียว
ทฤษฎี 3 สูงจะต้องไปด้วยกัน ผลิตภาพแรงงาน ราคาสินค้า ค่าจ้างแรงงาน ทฤษฎีนี้ไม่สามารถสร้างสมดุลได้ในวันเดียว

37 ขอขอบคุณ 37


ดาวน์โหลด ppt การเพิ่มค่าแรง 300 บาทต่อวัน: ทำได้หรือไม่อย่างไร?

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google