ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
Sulperazon
2
มูลค่าการใช้ยา ปีงบ 2548 8,842,310 บาท
ปีงบ ,842, บาท ต.ค.2548 – พ.ค ,538, บาท ปีงบ , กรัม ต.ค.2548 – พ.ค , กรัม
3
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษารูปแบบการใช้ยา Sulperazon ในผู้ป่วยโรคติดเชื้อภายในโรงพยาบาลของโรงพยาบาลสระบุรี
4
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ทำให้เห็นภาพรวมของการใช้ยา Sulperazon ในผู้ป่วยโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลสระบุรี เป็นข้อมูลให้แก่ PTC / IC และผู้เกี่ยวข้องในการวางนโยบาย กลยุทธ์และแนวทางที่เหมาะสมในการใช้ยา Sulperazon ของโรงพยาบาลสระบุรีต่อไป
5
การดำเนินการ ทำการทบทวนเวชระเบียนของผู้ป่วยที่ถูกคัดเลือกเข้าการศึกษา
รูปแบบการวิจัย เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา โดยเก็บข้อมูลย้อนหลัง (Retrospective Study)
6
กลุ่มตัวอย่าง ผู้ป่วยโรคติดเชื้อในโรงพยาบาลที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วย โรงพยาบาลสระบุรี ในช่วงเวลาตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2548 ถึง 31 กรกฎาคม 2548 เก็บข้อมูลโดยสุ่มตัวอย่างจากเวชระเบียบผู้ป่วยจำนวน 25 ราย ที่มีการสั่งใช้ยา Sulperazon
7
Criteria Inclusion ผู้ป่วยรายที่แพทย์สั่งใช้ยา Sulperazon ในช่วงเวลาที่ทำการศึกษา ผู้ป่วยที่เข้ารักษาตัวในหอผู้ป่วยมากกว่า 48 ชั่วโมง Exclusion ผู้ป่วยที่ได้รับยา Sulperazon นอกช่วงเวลาที่ทำการศึกษา
8
ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลทั่วไป จำนวน (คน) ร้อยละ เพศ ชาย หญิง 18 7 72 28
อายุ (ปี) 40 ปี ถึง 95 ปี (เฉลี่ย 69 ปี) สิทธิบัตร บัตรทอง ชำระเงิน ชำระเงิน (เบิกได้) / ต้นสังกัด 19 3 76 12
9
5 วัน ถึง 63 วัน (เฉลี่ย 24 วัน)
ข้อมูลทั่วไป ข้อมูลทั่วไป จำนวน (คน) ร้อยละ หอผู้ป่วย อายุรกรรม ศัลยกรรม 23 2 92 8 จำนวนวันนอน (วัน) 5 วัน ถึง 63 วัน (เฉลี่ย 24 วัน)
10
จำนวนตำแหน่งที่ติดเชื้อ
จำนวน (คน) ร้อยละ (%) 1 ตำแหน่ง 20 80 2 ตำแหน่ง 5
11
จำแนกตามระบบ ตำแหน่งที่ติดเชื้อ จำนวน(คน) ร้อยละ ระบบประสาท 4 16
ระบบทางเดินหายใจส่วนบน 3 12 ระบบทางเดินหายใจส่วนล่าง 8 32 ติดเชื้อในช่องท้อง 1 ระบบทางเดินปัสสาวะ ระบบประสาท + ระบบทางเดินหายใจส่วนล่าง ระบบทางเดินหายใจส่วนล่าง + ระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบทางเดินหายใจส่วนล่าง +ระบบทางเดินปัสสาวะ 2 ติดเชื้อที่ผิวหนัง + แผลจากการผ่าตัด
12
จำแนกตามชนิดของเชื้อ
จำนวน (คน) ร้อยละ Ps. aeruginosa 2 8 A. baumaniii 7 28 A. baumaniii MDR 1 4 E.coli E.coli ESBL K. pneumoniae 16 A. baumaniii MDR + E.coli No growth
13
ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดเชื้อแกรมลบดื้อยา
จำนวน (คน) ร้อยละ ใช้ยาปฏิชีวนะชนิดอื่นมาก่อน 20 80 ใช้ยาปฏิชีวนะชนิดออกฤทธิ์กว้าง ใช้เครื่องช่วยหายใจมากกว่า 7 วัน 18 72 นอนในโรงพยาบาลมากกว่า 30 วัน 10 40 รักษาตัวที่โรงพยาบาลอื่นมาก่อน 5
14
Antibiotic ที่ได้รับก่อน Sulperazon
จำนวน Broad Spectrum Antibiotic จำนวน (คน) ร้อยละ 0 ชนิด 5 20 1 ชนิด 7 28 2 ชนิด 9 36 3 ชนิด 3 12 5 ชนิด 1 4
15
Antibiotic ที่ได้รับก่อน Sulperazon
ชนิดยาปฏิชีวนะ จำนวน (คน) ร้อยละ ไม่เคยได้รับยาปฏิชีวนะ 5 20 Penicillin 2 8 3rd. gen Cephalosporin 6 24 3rd. gen Cephalosporin + Fluoroquinolone 3 12 3rd. gen Cephalosporin + Aminoglycoside 3rd. gen Cephalosporin + Macrolide 3 rd. gen Cephalosporin + Carbapenam 1 4 3 rd. gen Cephalosporin + Penicillins
16
รูปแบบการให้ยา วิธีการรักษา จำนวน (คน) ร้อยละ Empirical Therapy * 13
52 Mono Therapy 7 28 Combination Therapy 5 20
17
วันนอน - ระยะเวลาที่ใช้ยา - มูลค่ายา
ค่าเฉลี่ย (ค่าต่ำสุด-ค่าสูงสุด) จำนวนวันนอนของผู้ป่วย 24 วัน (5 วัน – 63 วัน) ระยะเวลาของการให้ Sulperazon 9 วัน (3วัน - 26 วัน) ราคายา 14,665 บาท (4,014 บาท - 40,140 บาท)
18
ผลการใช้ยา ขนาดยา Sulperazon อาการดีขึ้น (คน / ร้อยละ) อาการไม่ดีขึ้น
1 กรัม IV ทุก 12 ชั่วโมง 10 (40) 9 (36) 2 กรัม IV ทุก 12 ชั่วโมง 2 (8) แล้วเพิ่มเป็น 2 กรัม 1 (4) รวม 13 (52) 12 (48)
19
ADR จาก Sulperazon ขนาดยา Sulperazon เกิด ADR (คน /ร้อยละ) ไม่เกิด ADR
(คน / ร้อยละ) 1 กรัม IV ทุก 12 ชั่วโมง 0 (0) 19 (76) 2 กรัม IV ทุก 12 ชั่วโมง 1 (4) 3 (12) แล้วเพิ่มเป็น 2 กรัม 2 (8)
20
Failure of treatment ปัจจัยที่อาจเกี่ยวข้อง
จากการเลือกใช้ยา - อาจเป็นการเลือกใช้ขนาดยา หรือ ชนิดของยา จากตัวผู้ป่วยเอง - ผู้ป่วยที่ทำการศึกษาส่วนใหญ่มีอายุค่อนข้างมาก และมีโรคแทรกซ้อนหลายอย่าง เกิดจากตัวเชื้อ - เชื้อที่พบเป็นเชื้อดื้อยาถึงร้อยละ 12 ทั้งนี้อาจเนื่องจากผู้ป่วยกลุ่มนี้มี risk factor ที่จะก่อให้เกิดเชื้อที่มีแนวโน้มดื้อต่อยาได้ง่าย
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.