ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยRamkamhaeng Thabchumpon ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
นาย สามารถ เวชศาสตร์ รหัส 53402693 สายวิชาเทคโนโลยีพลังงาน
เทคโนโลยีเตาเผาฟลูอิไดซ์เบด นาย สามารถ เวชศาสตร์ รหัส สายวิชาเทคโนโลยีพลังงาน
2
ฟลูอิไดซ์เบด หลักการทำงาน ชนิดของเตาเผาฟลูดิไดซ์เบด แบบฟองอากาศ แบบหมุนวน เชื้อเพลิง ชีวมวล ขยะมูลฝอย การนำไปใช้ประโยชน์
3
ฟลูอิไดซ์เบด คือ การที่ทำให้ของแข็งมีพฤติกรรมคล้าย
ฟลูอิไดซ์เบด คือ การที่ทำให้ของแข็งมีพฤติกรรมคล้าย ของเหลวที่สามารถไหลได้
4
หลักการทำงาน
5
ชนิดของเตาฟลูอิไดซ์เบด
เตาเผาฟลูอิไดซ์เบดชนิดฟองอากาศ ซึ่งจะมีการเคลื่อนที่ของวัสดุเบดคล้ายฟองอากาศ โดยเมื่อจ่ายอากาศเข้าทางด้านล่างของหัวจ่ายอากาศ (Air distributor) วัสดุเบดจะมีลักษณะการเคลื่อนที่ขึ้นและลงจนมีลักษณะคล้ายกับฟองอากาศ เตาเผาฟลูอิไดซ์เบดชนิดหมุนวน ซึ่งเมื่อจ่ายอากาศเข้าทางด้านล่างของหัวจ่ายอากาศวัสดุเบดจะเคลื่อนที่ขึ้นสู่บริเวณด้านบนของตัวเตา และถูกอากาศดันให้กลับลงมาด้านล่างทางไซโคลน
6
ปัจจัยในการสัญดาปของเชื้อเพลิง
อาศัยปัจจัยที่สำคัญ 3 ประการคือ 1. เวลาต้องนานเพียงพอ เพื่อให้เชื้อเพลิง เพื่อให้เชื้อเพลิงสันดาปหมดโดยไม่ถูกอากาศส่วนเกินนำออกจากปล่องควันก่อนถูกสันดาป 2. อุณหภูมิในการสันดาปต้องสูงพอที่จะทำให้เกิดการสันดาปอย่างต่อเนื่อง 3. การผสมระหว่างเชื้อเพลิงกับอากาศ ต้องอยู่ในลักษณะของการไหลแบบปั่นป่วน
7
Advantages 1 ใช้เชื้อเพลิงได้หลายชนิดโดยสามารถใช้ได้ทั้งเชื้อเพลิงเดี่ยวหรือเชื้อเพลิงผสมที่มีคุณภาพแตกต่างกันมากได้ 2 ในการเผาไหม้เชื้อเพลิงจะมีเวลาอยู่ในเตานานจึงสามารถเกิดการเผาไหม้ได้อย่างสมบูรณ์ 3 เนื่องจากอุณหภูมิภายในเตาต่ำ (ไม่เกิน 1000oC) ทำให้ลดอัตราการกัดกร่อนและการเกาะของเถ้าหลอมเหลวบนพื้นผิวถ่ายเทความร้อน 4 การถ่ายเทความร้อนที่สำคัญเป็นแบบการพาความร้อน เนื่องจากการปั่นป่วนของเบด
8
Disadvantages. 1 ระยะเวลาเริ่มจุดเตาหรือหยุดเดินระบบนาน 2
การทำงานของระบบป้อนเชื้อเพลิงผันแปรกับคุณสมบัติของเชื้อเพลิงมาก 3 อาจเกิดการสึกกร่อน เนื่องจากมีการปะทะของอนุภาคและก๊าซ 4 ใช้พลังงานสำหรับพัดลมสูงกว่าเตาเผาชนิดอื่นๆ
9
เชื้อเพลิงชีวมวล ชีวมวล (Biomass) คือ สารอินทรีย์ที่เป็นแหล่งกักเก็บพลังงานจากธรรมชาติและสามารถนำมาใช้ผลิตพลังงานได้ เช่น เศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร หรือกากจากกระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมการเกษตร (เช่น แกลบ ชานอ้อย ฟางข้าว) (หน่วย: พันตันเทียบเท่าน้ำมันดิบ) ที่มา: กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน รายงานพลังงานของประเทศไทย 2552
10
พื้นที่ที่มีศักยภาพด้านชีวมวล
11
พื้นที่ที่มีศักยภาพด้านชีวมวล [ต่อ]
12
เชื้อเพลิงขยะ เชื้อเพลิงขยะ หมายถึง ขยะมูลฝอยที่ผ่านกระบวนการจัดการต่างๆ เช่น การคัดแยกวัสดุที่เผาไหม้ไม่ได้ออกมา การฉีกหรือตัดขยะมูลฝอยออกเป็นชิ้นเล็กๆ เชื้อเพลิงขยะที่ได้นี้จะมีความร้อนสูงกว่าหรือคุณสมบัติดเป็นเชื้อเพลิงที่ดีกว่าการนำขยะมูลฝอยที่เก็บรวบรวมมาให้โดยตรง เนื่องจากมีองค์ประกอบทั้งทางกายภาพและเคมีสม่ำเสมอกว่า ข้อดีของเชื้อเพลิงขยะ คือค่าความร้อนสูง (เมื่อเปรียบเทียบกับขยะมูลฝอยที่เก็บรวมมา) ง่ายต่อการจัดเก็บ การขนส่ง การจัดการต่างๆรวมทั้งส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมต่ำกว่า
13
คุณลักษณะของเชื้อเพลิงขยะแต่ละประเภทและระบบการเผาไหม้ที่ใช้
14
การแปรรูปขยะมูลฝอยเป็นเชื้อเพลิงขยะ
15
การผลิตไฟฟ้า
16
การอบแห้ง
17
ตัวอย่างโรงไฟฟ้า
18
เอกสารอ้างอิง 1. นพคุณ ปวงอินใจ, ปรีชา หงษ์เวียงจันทร์ และปิยะณัฐ เจริญพร, 2553, การศึกษากระบวนการเผาไหม้ของเปลือกถั่วลิสงและเปลือกมะขามในเตาเผาชนิดฟลูอิไดซ์เบดแบบทรงกรวย โดยใช้ทรายและอลูมิน่าเป็นวัตถุเบด, ปริญญานิพนธ์วิศวกรรมศาสตร สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร, หน้า 2. Kouprianov, V. and Permchart, W., 2003, “Emission from a Conical FBC Fired with a Biomass Fuel”, Applied Energy, Vol. 74, No. 3 – 4, pp. 383 – 392. 3. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน,2552, การใช้ชีวมวลในประเทศไทยระหว่างปี [Online], Available: &catid=58&Itemid=68 [31 สิงหาคม 2554]. 4. กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, 2552, เทคโนโลยีการผลิตพลังงานจากชีวมวล[Online], Available: [20 กันยายน 2554]. 5. คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 2552, เชื้อเพลิงที่ได้จากขยะมูลฝอย [Online], Available: [20 กันยายน 2554].
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.