ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยRochana Shinawatra ได้เปลี่ยน 10 ปีที่แล้ว
1
การวิเคราะห์ สถานการณ์พลังงาน ประสบการณ์ และจัดเตรียมข้อมูล
นายเชาวรัช ทองแก้ว ผู้เชี่ยวชาญพิเศษด้านการวางแผนพลังงานระดับทั่วไป สำนักนโยบายและยุทธ์ศาสตร์ สำนักงานปลัด กระทรวงพลังงาน
2
ข้อมูล ความสำคัญของ การตัดสินใจ การสื่อสาร การเรียนรู้
การวิเคราะห์ข้อมูลและจัดเตรียมข้อมูล ความสำคัญของ ข้อมูล การตัดสินใจ ประโยชน์ของข้อมูล ที่ส่งผลต่อชีวิตและสังคมของเรา การสื่อสาร การเรียนรู้
3
การวิเคราะห์ข้อมูลและจัดเตรียมข้อมูล
ตัวอย่างการใช้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ “คุณสวยสด แจ่มจรัส เจ้าของกิจการโรงงานผลิตพลอยส่งออก ได้ลงประกาศหาชายหนุ่มเพื่อมาเป็นคู่ใจในการใช้ชีวิต ” เพื่อการเรียนรู้ เพื่อการสื่อสาร เพศ ? นิสัยใจคอ ? สถานที่ คุณ ลักษณะ เวลา ยกตัวอย่างหากข้อมูลไม่มีความละเอียดพออาจทำให้การตัดสินใจผิดพลาดได้ อายุ ? ญาติพี่น้อง? หน้าตา ? ค่าความแตกต่าง เมื่อไหร่ ?
4
ข้อมูลที่เราจำเป็นต้องรู้.....??????????
การวิเคราะห์ข้อมูลและจัดเตรียมข้อมูล ข้อมูลที่เราจำเป็นต้องรู้.....?????????? (ใช้การวางแผนพลังงาน) ข้อมูลการใช้พลังงานของครัวเรือน ไฟฟ้า , แก๊สหุงต้ม , น้ำมัน , ฟืน , ถ่าน (ใช้เท่าไหร่ , ใช้อย่างไร , ใช้กับอะไร) ศักยภาพของชุมชนด้านพลังงาน ของเหลือใช้ทางการเกษตร , มูลสัตว์ (ปลูกอะไร,มีเท่าไหร่,เอาไปใช้งานอะไรบ้าง)
5
ข้อมูลที่เราจำเป็นต้องรู้.....??????????
การวิเคราะห์ข้อมูลและจัดเตรียมข้อมูล ข้อมูลที่เราจำเป็นต้องรู้.....?????????? (ใช้การวางแผนพลังงาน) กลุ่มแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร กลุ่มที่ใช้พลังงานในการแปรรูปของสินค้าหรือผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ชุมชน อาชีพ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพเลี้ยงสัตว์ แหล่งน้ำธรรมชาติ,ป่าชุมชน ฐานทรัพยากร การรวมกลุ่มทางสังคม ปฏิทินชุมชน วัฒนธรรมชุมชน ปริมาณขยะเปียกและแห้งของชุมชน น้ำเสีย/ของเสียในขบวนการผลิต สภาพปัญหาของชุมชน
6
สรุปข้อมูลและการนำไปใช่งาน
การวิเคราะห์ข้อมูลและจัดเตรียมข้อมูล สรุปข้อมูลและการนำไปใช่งาน ประเภทข้อมูล สิ่งที่ควรรู้ การใช้ประโยชน์ แหล่งที่มา การใช้พลังงาน การใช้พลังงานของแต่ละประเภท ทั้งมูลค่า/ปริมาณ/ลักษณะการใช้ อะไรใช้มาก/น้อย วิเคราะห์หาโอกาสในการปรับลดหรือใช้ให้มีประสิทธิภาพ หน่วยงานภายในกระทรวงพลังงาน / สถิติแห่งชาติ ศักยภาพพลังงานทดแทน การปลูกพืชเศรษฐกิจ,การเลี้ยงสัตว์(หมู,วัว,ไก่),ปริมาณและการใช้งานของเหลือใช้ทางการเกษตร,การจัดการขยะหรือของเสีย เช่น น้ำมันใช้แล้ว , น้ำเสีย หรือ ขยะเปียกเป็นต้น นำข้อมูลมาวิเคราะห์ประมวลผลเพื่อหาศักยภาพด้านพลังงานทดแทนของชุมชน เพื่อเป็นผลิตในการทดแทนพลังงานหลัก(ไฟฟ้า,แก๊ส และ น้ำมัน เกษตรจังหวัด,ปศุสัตว์จังหวัด,ป่าไม้จังหวัด,อุตสาหกรรมจังหวัด,พาณิชย์จังหวัด อาชีพ ขั้นตอนหรือกรรมวิธีในการทำงานของกลุ่มแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร,กลุ่มวิสาหกิจชุมชน,กลุ่มผลิตอาหาร/ขนม/ของกิน,อาชีพที่สำคัญของชุมชน หาขั้นตอนที่มีการใช้พลังงาน ปรับปรุงกระบวนการนั้นโดยให้มีประสิทธิภาพการใช้พลังงานที่ดีขึ้น อาจ ปรับเปลี่ยนอุปกรณ์ หรือ แหล่งเชื้อเพลิง อปท. / พาณิชย์จังหวัด/พัฒนาชุมชน/จัดเก็บใหม่ ฐานทรัพยากร การใช้ประโยชน์ของพื้นที่,แหล่งที่อยู่อาศัย,ป่าไม้,การเกษตร,พื้นที่สาธารณะ,ศูนย์เรียนรู้ในชุมชน นำข้อมูลมาวิเคราะห์ประมวลผลเพื่อหาศักยภาพด้านพลังงานทดแทนของชุมชน และ โอกาสการบูรณางานกับภาคส่วนอื่นๆ อปท./จัดเก็บใหม่ วัฒนธรรมชุมชน ช่วงเวลาของประเพณี วัฒนธรรมประจำท้องถิ่น , ปฏิทินการทำการเกษตร , การนับถือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ สามารถกำหนดช่วงเวลาการทำกิจกรรมได้เหมาะสมกับกับเวลาว่างของชุมชน / กำหนดกิจกรรมได้เหมาะสมกับวิถีชีวิตของคนในชุมชน วัฒนธรรมจังวัด./จัดเก็บใหม่
7
พลังงาน ข้อมูลการบริโภค บอกอะไรกับเรา
การวิเคราะห์ข้อมูลและจัดเตรียมข้อมูล ข้อมูลการบริโภค บอกอะไรกับเรา พลังงาน ระดมสมองคร่าวๆกับผู้เข้าร่วมว่า “เมื่อนึกถึงพลังงานนึกถึงอะไร” กระตุ้นให้ตอบ หยอดมุขบ้าง ทวนคำที่ผู้เข้าร่วมตอบมา อาจให้ทีมงานจดลงกระดาษ
8
In Put Process Out Put กิจกรรม พลังงาน เทคโนโลยี สิ่งที่ใส่เข้าไป
การวิเคราะห์ข้อมูลและจัดเตรียมข้อมูล In Put สิ่งที่ใส่เข้าไป Process กระบวนการ Out Put ผลลัพธ์ กิจกรรม พลังงาน เทคโนโลยี พลังงานก็คือสิ่งที่ทำให้เกิดงาน เกิดกิจกรรมต่างๆ ยกตัวอย่างเช่น คนเรากินข้าวเข้าไปจึงมีแรงทำงาน ข้าวถือว่าเป็นแหลังพลังงานชนิดหนึ่งแต่ร่างกายคือเครื่องแปลงพลังงาน บริบทของพื้นที่ GPP ดำรงชีวิต ประกอบอาชีพ มูลค่า นำเข้า / ผลิตเอง Co2 ประสิทธิภาพ ผลกระทบ
9
In Put Process Out Put พลังงาน กิจกรรม เทคโนโลยี สิ่งที่ใส่เข้าไป
การวิเคราะห์ข้อมูลและจัดเตรียมข้อมูล In Put สิ่งที่ใส่เข้าไป Process กระบวนการ Out Put ผลลัพธ์ พลังงาน เทคโนโลยี กิจกรรม ประสิทธิภาพ บริบทของพื้นที่ GPP พลังงานก็คือสิ่งที่ทำให้เกิดงาน เกิดกิจกรรมต่างๆ ยกตัวอย่างเช่น คนเรากินข้าวเข้าไปจึงมีแรงทำงาน ข้าวถือว่าเป็นแหลังพลังงานชนิดหนึ่งแต่ร่างกายคือเครื่องแปลงพลังงาน แนวโน้มที่เคยใช้กันมา การใช้พลังงานต่อฐานการผลิต GPP การพัฒนาของจังหวัด เทคโนโลยีทางเลือก ศักยภาพพลังงานทดแทน
10
In Put Process Out Put พลังงาน กิจกรรม เทคโนโลยี สิ่งที่ใส่เข้าไป
การวิเคราะห์ข้อมูลและจัดเตรียมข้อมูล In Put สิ่งที่ใส่เข้าไป Process กระบวนการ Out Put ผลลัพธ์ พลังงาน เทคโนโลยี กิจกรรม พลังงานก็คือสิ่งที่ทำให้เกิดงาน เกิดกิจกรรมต่างๆ ยกตัวอย่างเช่น คนเรากินข้าวเข้าไปจึงมีแรงทำงาน ข้าวถือว่าเป็นแหลังพลังงานชนิดหนึ่งแต่ร่างกายคือเครื่องแปลงพลังงาน แนวโน้มที่เคยใช้กันมา การใช้พลังงานต่อฐานการผลิต GPP บ่งบอกถึงกิจกรรมการใช้พลังงานของพื้นที่ สะท้อนอาชีพ สะท้อนการดำเนินชีวิต / สภาพทางสังคม สะท้อนนโยบายของพื้นที่ (เกษตร/อุตสาหกรรม/ ท่องเที่ยว/Otop/พลังงาน/การศึกษา/ก๊าซเรือนกระจก ฯลฯ) โอกาสการพัฒนา
11
In Put Process Out Put พลังงาน กิจกรรม เทคโนโลยี สิ่งที่ใส่เข้าไป
การวิเคราะห์ข้อมูลและจัดเตรียมข้อมูล ดังนั้นการเตรียมข้อมูลเพื่อจะนำมาวิเคราะห์ In Put สิ่งที่ใส่เข้าไป Process กระบวนการ Out Put ผลลัพธ์ พลังงาน เทคโนโลยี กิจกรรม พลังงานก็คือสิ่งที่ทำให้เกิดงาน เกิดกิจกรรมต่างๆ ยกตัวอย่างเช่น คนเรากินข้าวเข้าไปจึงมีแรงทำงาน ข้าวถือว่าเป็นแหลังพลังงานชนิดหนึ่งแต่ร่างกายคือเครื่องแปลงพลังงาน อาชีพ นโยบายของพื้นที่ (เกษตร/อุตสาหกรรม/ ท่องเที่ยว/Otop/พลังงาน/การศึกษา/ก๊าซเรือนกระจก ฯลฯ)
13
ปริมาณการใช้พลังงาน (จูล) ของจังหวัดนครราชสีมาปี 2545
14
มูลค่าพลังงาน (บาท) ของจังหวัดนครราชสีมาปี 2545
15
อ่านข้อมูลแล้วตีความเชื่อมโยง โดยใช้คำถาม
การวิเคราะห์ข้อมูลและจัดเตรียมข้อมูล อ่านข้อมูลแล้วตีความเชื่อมโยง โดยใช้คำถาม ทำไม เพราะอะไร สาเหตุที่เป็น เชื่อมโยงสู่เหตุการณ์ต่างๆ วิกฤตการณ์ ราคาผลผลิต สงคราม ภัยวิบัติ สภาวะทางสังคม นโยบายของรัฐ In Put สิ่งที่ใส่เข้าไป พลังงาน พลังงานก็คือสิ่งที่ทำให้เกิดงาน เกิดกิจกรรมต่างๆ ยกตัวอย่างเช่น คนเรากินข้าวเข้าไปจึงมีแรงทำงาน ข้าวถือว่าเป็นแหลังพลังงานชนิดหนึ่งแต่ร่างกายคือเครื่องแปลงพลังงาน แนวโน้มที่เคยใช้กันมา การใช้พลังงานต่อฐานการผลิต GPP
16
การวิเคราะห์ข้อมูลและจัดเตรียมข้อมูล
การใช้น้ำมันดีเซลของจังหวัดเชียงใหม่
17
การวิเคราะห์ข้อมูลและจัดเตรียมข้อมูล
51 53 49 50 49 ปลายปี 52 47
18
ไฟฟ้า เปรียบเทียบปริมาณการใช้ไฟฟ้ากับจำนวนผู้ใช้ไฟฟ้า
19
ไฟฟ้า เปรียบเทียบผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดกับมูลค่าการใช้ไฟฟ้า
20
ไฟฟ้า การใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นเฉลี่ยปีละ 7.14 %
การใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้นเฉลี่ยปีละ % มูลค่าการใช้ไฟฟ้า ปี 2543 คิดเป็น 5.82 % ของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด
21
มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเทียบกับมูลค่าการใช้พลังงาน
สรุปภาพรวมการบริโภคพลังงาน มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเทียบกับมูลค่าการใช้พลังงาน
24
ข้อมูล ความสำคัญของ การตัดสินใจ การสื่อสาร การเรียนรู้
การวิเคราะห์ข้อมูลและจัดเตรียมข้อมูล ความสำคัญของ ข้อมูล การตัดสินใจ 2 ประโยชน์ของข้อมูล ที่ส่งผลต่อชีวิตและสังคมของเรา 1 การสื่อสาร 3 การเรียนรู้
26
การอธิบายหรือตีความข้อมูล
ตารางที่ 1 อาชีพของกลุ่มตัวอย่าง (ชื่อตาราง) ประเภทอาชีพ จำนวน ร้อยละ เกษตรกรรม 200 20.0 ค้าขาย 400 40.0 รับราชการ 100 10.0 รับจ้างทั่วไป ลูกจ้างบริษัท รวม 1,000 100.0
27
“กลุ่มตัวอย่างจากการสำรวจนี้ประกอบด้วยประชาชนชาวตาก ที่ประกอบอาชีพค้าขายมากที่สุด รองลงมาประกอบเกษตรกร อาชีพรับจ้างทั่วไป รับราชการ และลูกจ้างบริษัท ตามลำดับ เหตุที่มีอาชีพค้าขายมากเพราะเป็นจังหวัดทางผ่านและเขตชายแดน ”
28
มูลค่าการใช้พลังงาน ปี 51
การวิเคราะห์ข้อมูลและจัดเตรียมข้อมูล ประเทศไทย มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม ปี 51 4.36 ล้านล้านบาท มูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตร 5 แสนล้านบาท 39% ข้าว แสนล้าน ยางพารา แสนล้าน 1.69 ล้านล้านบาท มูลค่าการใช้พลังงาน ปี 51
29
มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม
การวิเคราะห์ข้อมูลและจัดเตรียมข้อมูล ข้อมูลระดับจังหวัด ชัยภูมิ 41,735 ล้านบาท มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม รายได้ต่อคน 35,288 บาท/คน/ปี 12% มูลค่าการบริโภคพลังงาน หรือเท่ากับ 4,632 บาท/คน/ปี 5,186 ล้านบาท
30
มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม
การวิเคราะห์ข้อมูลและจัดเตรียมข้อมูล ข้อมูลระดับจังหวัด หนองคาย 34,285 ล้านบาท มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม รายได้ต่อคน 35,800 บาท/คน/ปี มูลค่าการบริโภคพลังงาน หรือเท่ากับ 14,702 บาท/ครัวเรือน/ปี 3,522 ล้านบาท
31
มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม
การวิเคราะห์ข้อมูลและจัดเตรียมข้อมูล ข้อมูลระดับจังหวัด กาฬสินธุ์ 37,138 ล้านบาท มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม รายได้ต่อคน 34,170 บาท/คน/ปี 15% มูลค่าการบริโภคพลังงาน การใช้พลังงานต่อคน 5,090 บาท/คน/ปี 4,620 ล้านบาท
32
มุมมองสมดุลพลังงาน ด้านการใช้เชื้อเพลิง/ชนิดพลังงาน น้ำมัน ไฟฟ้า แก๊สหุงต้ม พืน/ถ่าน
33
มุมมองสมดุลพลังงาน ด้านกิจกรรมการนำไปใช้งาน ขนส่ง เกษตร ไฟฟ้าทั่วไป ประกอบอาหาร
34
มุมมองสมดุลพลังงาน ด้านมูลค่าการใช้งาน(บาท) ขนส่ง (น้ำมัน) เกษตร (น้ำมัน) ไฟฟ้าทั่วไป ประกอบอาหาร (ฟืน/ถ่าน/แก๊ส)
35
มุมมองสมดุลพลังงาน ด้านสิ่งแวดล้อม (ก๊าซเรือนกระจก) น้ำมัน (ขนส่ง/เกษตร) ไฟฟ้า(สะดวกสบาย) แก๊ส(หุงต้ม) ฟืน/ถ่าน (หุงต้ม)
36
การวิเคราะห์ข้อมูลและจัดเตรียมข้อมูล
37
สมดุลพลังงาน Energy Balance
Lost 30 Input 100 Use 70
38
สมดุลพลังงาน Energy Balance
Lost 20 Input 90 Use 70
39
สมดุลพลังงาน Energy Balance
Lost 20 Input 100 Use 80
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.