งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ประมวลผล/คำนวณข้อมูลทุติยภูมิ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ประมวลผล/คำนวณข้อมูลทุติยภูมิ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ประมวลผล/คำนวณข้อมูลทุติยภูมิ
1. การแปลงหน่วย 2. ศักยภาพพลังงาน 3. การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย 4. ดัชนีชี้วัดมิติต่างๆ

2 การแปลงหน่วย ktoe kWh ลิตร ตัน หน่วยกายภาพ = ? ktoe

3 ไม่ต้องตกใจกับตัวเลขครับ !!
ตารางการแปลงหน่วย ไม่ต้องตกใจกับตัวเลขครับ !! เรามี โปรแกรมแปลงหน่วย

4 เข้าไปที่ website : www.thaienergydata.in.th
โปรแกรมการแปลงหน่วย เข้าไปที่ website :

5 เลือกเมนูเครื่องมือ  unit converter
โปรแกรมการแปลงหน่วย ป้อนชื่อผู้ใช้ และรหัสผ่าน เลือกเมนูเครื่องมือ  unit converter

6 โปรแกรมการแปลงหน่วย เลือกประเภทหน่วย เลือกจุดทศนิยม
เลือกชนิดเชื้อเพลิง เลือกหน่วย เลือกหน่วย กดปุ่ม คำนวณ ป้อนจำนวน แสดงผลการแปลงหน่วย

7 ศักยภาพพลังงาน คุณสมบัติทางด้านพลังงานที่มีแฝงอยู่ในสิ่งต่างๆ ซึ่งยังไม่ได้ถูกเปลี่ยนพลังงาน พลังงานเชิงพาณิชย์ พลังงานทดแทน

8 ศักยภาพพลังงาน พลังงานเชิงพาณิชย์
พลังงานที่สามารถนำส่งไปถึงผู้บริโภคโดยผ่านระบบตลาด เช่น ถ่านหิน ก๊าซธรรมชาติ น้ำมันดิบ

9 แบบจำลองการคำนวณศักยภาพเชิงพาณิชย์
ปริมาณสำรองเชื้อเพลิง ค่าการแปลงหน่วย ศักยภาพพลังงาน เชิงพาณิชย์ ข้อมูลจากรายงานประจำปี กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ

10 ศักยภาพพลังงาน พลังงานทดแทน
พลังงานที่มีอยู่ในธรรมชาติและสามารถจัดหาได้ใหม่ในระยะเวลาอันสั้น ซี่งนำมาใช้ทดแทนการใช้พลังงานฟอสซิล เช่น แสงอาทิตย์ ก๊าซชีวภาพ ชีวมวล

11 การคำนวณศักยภาพพลังงานทดแทน
ชีวมวล (Biomass) ก๊าซชีวภาพ (Biogas) พลังงานจากขยะ (Waste) พลังงานน้ำ พลังงานแสงอาทิตย์

12 การคำนวณศักยภาพพลังงานทดแทน
1. ชีวมวล (Biomass) นำไปใช้งานอย่างอื่น ไม่ได้ใช้งาน นำมาผลิตพลังงาน

13 การคำนวณศักยภาพพลังงานทดแทน
1. ชีวมวล (Biomass) ปริมาณผลผลิตพืช ค่าการแปลงหน่วย ศักยภาพพลังงาน ชีวมวล ข้อมูลจากสถิติการเกษตรประเทศไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

14 การคำนวณศักยภาพพลังงานทดแทน
2. ก๊าซชีวภาพ (BioGas) มูลสัตว์ ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ มูลที่ระเหยได้ เก็บไม่ได้ เก็บได้ มูลแห้ง

15 การคำนวณศักยภาพพลังงานทดแทน
2. ก๊าซชีวภาพ (BioGas) จำนวนสัตว์ ค่าการแปลงหน่วย ศักยภาพพลังงาน ก๊าซชีวภาพ ข้อมูลจากสถิติการเกษตรประเทศไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

16 การคำนวณศักยภาพพลังงานทดแทน
3. พลังงานจากขยะ (WASTE ENERGY) ความร้อน เผา ขยะ ก๊าซชีวภาพ ฝังกลบ

17 การคำนวณศักยภาพพลังงานทดแทน
3. พลังงานจากขยะ (WASTE ENERGY) ปริมาณขยะ ค่าการแปลงหน่วย ศักยภาพพลังงาน จากขยะ ข้อมูลจากสำนักงานสถิติแห่งชาติ

18 การคำนวณศักยภาพพลังงานทดแทน
4. พลังงานน้ำ ความสูง อัตราการไหล

19 ข้อมูลจาก กรมชลประทาน
การคำนวณศักยภาพพลังงานทดแทน 4. พลังงานน้ำ - ความสูงหัวน้ำ - อัตราการไหล ค่าการแปลงหน่วย ศักยภาพพลังงาน น้ำ ข้อมูลจาก กรมชลประทาน

20 การคำนวณศักยภาพพลังงานทดแทน
5. พลังงานแสงอาทิตย์ 80% 10%

21 การคำนวณศักยภาพพลังงานทดแทน
5. พลังงานแสงอาทิตย์ ข้อมูลความเข้มแสงอาทิตย์จาก กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ข้อมูลสถิติการใช้ที่ดิน จากสำนักงานสถิติแห่งชาติ

22 ค่าความเข้มแสงอาทิตย์
การคำนวณศักยภาพพลังงานทดแทน 5. พลังงานแสงอาทิตย์ ค่าความเข้มแสงอาทิตย์ พื้นที่ทั้งหมด- พื้นที่ป่า-พื้นที่เกษตร ค่าการแปลงหน่วย ศักยภาพพลังงานแสงอาทิตย์

23 การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย
พลังงานที่ถูกส่งหรือถูกผลิตเพื่อไปใช้ในผู้บริโภคพลังงานลำดับสุดท้าย โดยไม่รวมเชื้อเพลิงที่นำไปใช้ในกระบวนการแปรรูปพลังงาน

24 การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย
เชิงพาณิชย์ น้ำมันเชื้อเพลิง ไฟฟ้า ก๊าซธรรมชาติ พลังงานหมุนเวียน ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ ขยะ สาขาที่อยู่อาศัย สาขาเกษตรกรรม สาขาธุรกิจการค้า สาขาอุตสาหกรรม สาขาขนส่ง สาขาอื่นๆ

25 การใช้พลังงานขั้นสุดท้าย
น้ำมันเบนซินทุกชนิด และแก๊สโซฮอล์ทุกชนิด น้ำมันดีเซลหมุนเร็ว และไบโอดีเซล น้ำมันดีเซลหมุนช้า น้ำมันเตา ก๊าซหุงต้ม ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน ชีวมวล ก๊าซชีวภาพ พลังงานไฟฟ้า

26 น้ำมันเบนซินทุกชนิด และแก๊สโซฮอล์ทุกชนิด

27 น้ำมันเบนซินทุกชนิด และแก๊สโซฮอล์ทุกชนิด

28 ปริมาณการจำหน่าย น้ำมันเบนซิน ค่าการแปลงหน่วย
น้ำมันเบนซินทุกชนิด และแก๊สโซฮอล์ทุกชนิด ปริมาณการจำหน่าย น้ำมันเบนซิน ค่าการแปลงหน่วย ปริมาณการใช้น้ำมันเบนซิน ข้อมูลจาก กรมธุรกิจพลังงาน

29 2. น้ำมันดีเซลหมุนเร็วและไบโอดีเซล
จากรูปจะเห็นว่าการใช้น้ำมันดีเซลขั้นสุดท้ายสามารถจัดได้ 3 สาขาเศรษฐกิจ ขนส่ง เกษตรกรรม อื่นๆ (เหมืองแร่) ส่วนสาขาอุตสาหกรรม และ ก่อสร้างยังมีข้อจำกัดในการประเมินตัวเลขการบริโภคที่แท้จริงจึงยังไม่สามารถนำมาพิจารณาได้ ดังนั้น ข้อมูลทุกสาขายกเว้น การผลิตไฟฟ้า จะรวมเป็นสาขาขนส่งชั่วคราว ก่อนจะนำผลการประเมินในสาขาเกษตรและ เหมืองแร่ มาลบออก

30 สาขาอื่นๆ(เหมืองแร่)
2.1 สาขาการขนส่ง สาขาขนส่ง(ชั่วคราว) สาขาเกษตรกรรม สาขาอื่นๆ(เหมืองแร่) สาขาขนส่ง

31 2.2 สาขาเกษตรกรรม การเพาะปลูก ป่าไม้ การประมงทะเล สาขาเกษตรกรรม

32 2.2 สาขาเกษตรกรรม (การเพาะปลูก)
พื้นที่เพาะปลูก อัตราการบริโภคน้ำมัน ปริมาณการใช้น้ำมันดีเซลในการเพาะปลูก

33 2.2 สาขาเกษตรกรรม (ป่าไม้)
พื้นที่โค่นสวนยาง อัตราการบริโภคน้ำมัน ปริมาณการใช้น้ำมันดีเซลในการทำป่าไม้

34 2.2 สาขาเกษตรกรรม (การประมง)
จำนวนเรือจดทะเบียน จำนวนเที่ยวเรือออกทะเล อัตราการบริโภคน้ำมัน ปริมาณการใช้น้ำมันดีเซลในการประมง

35 2.3 สาขาเหมืองแร่ การใช้น้ำมันดีเซลในสาขาเหมืองแร่ การแปรรูปพลังงาน
ถ่านหินลิกไนต์สำหรับโรงไฟฟ้า สาขาอื่นๆ เหมืองแร่ชนิดอื่นๆ

36 2.3 สาขาเหมืองแร่ ปริมาณผลผลิตแร่ อัตราการบริโภคน้ำมัน
ปริมาณการใช้น้ำมันดีเซลในสาขาเหมืองแร่

37 3. น้ำมันดีเซลหมุนช้า

38 3. น้ำมันดีเซลหมุนช้า ส่วนใหญ่จะใช้ในอุตสาหกรรม ในสาขาขนส่งจะใช้ในเรือเดินมหาสมุทร ไม่มีการใช้ในรถยนต์ หรือรถบรรทุก ส่วนในสาขาอื่นๆ จะใช้ในกิจการที่มีการใช้ในเครื่องจักรกล นอกเหนือจากอุตสาหกรรม

39 3. น้ำมันดีเซลหมุนช้า ปริมาณการใช้น้ำมันดีเซล หมุนช้า
ปริมาณการจำหน่าย น้ำมันดีเซล หมุนช้า ค่าการแปลงหน่วย ปริมาณการใช้น้ำมันดีเซล หมุนช้า ข้อมูลจาก กรมธุรกิจพลังงาน

40 4. น้ำมันเตา

41 4. น้ำมันเตา

42 4. น้ำมันเตา ปริมาณการจำหน่าย น้ำมันเตา ค่าการแปลงหน่วย
ปริมาณการใช้น้ำมันเตา ข้อมูลจาก กรมธุรกิจพลังงาน

43 5. ก๊าซหุงต้ม

44 5. ก๊าซหุงต้ม จากรูป สาขาร้านค้าและบริการ จะไม่สามารถจำแนกได้ว่ามีการนำไปใช้ในสาขาธุรกิจการค้าและบริการ หรือสาขาที่อยู่อาศัย จึงรวมไว้เป็นสาขาธุรกิจการค้าและบริการ ชั่วคราวไว้ ก่อนจะนำผลการประเมินปริมาณการใช้ในสาขาที่อยู่อาศัยมาหักลบออก

45 5.1 สาขาธุรกิจการค้าและบริการ
ปริมาณการใช้ก๊าซหุงต้มในสาขาธุรกิจการค้าและบริการ (ชั่วคราว) ปริมาณการใช้ก๊าซหุงต้มในสาขาที่อยู่อาศัย

46 5.2 สาขาที่อยู่อาศัย สัดส่วนการใช้ก๊าซหุงต้มในสาขาที่อยู่อาศัยต่อการใช้รวม ปริมาณการใช้ก๊าซหุงต้มในสาขาธุรกิจการค้า(ชั่วคราว) ปริมาณการใช้ก๊าซหุงต้มในสาขาที่อยู่อาศัย สัดส่วนการใช้ก๊าซหุงต้มในสาขาที่อยู่อาศัยต่อการใช้รวม ปริมาณการใช้ก๊าซหุงต้มในสาขาที่อยู่อาศัยรวมเป็นภาค ปริมาณการใช้ก๊าซหุงต้มในสาขาธุรกิจการค้า(ชั่วคราว) รวมเป็นภาค

47 5.2 สาขาที่อยู่อาศัย จำนวนครัวเรือนในภาค
ปริมาณการใช้ก๊าซหุงต้มในสาขาที่อยู่อาศัยรวมเป็นภาค ค่าใช้จ่ายก๊าซ หุงต้มรายภาคต่อครัวเรือน จำนวนครัวเรือนในภาค ราคาก๊าซหุงต้มเฉลี่ย รายภาค

48 6. ก๊าซธรรมชาติ

49 6. ก๊าซธรรมชาติ

50 6. ก๊าซธรรมชาติ ปริมาณการจำหน่าย ก๊าซธรรมชาติ ค่าการแปลงหน่วย
ปริมาณการใช้ก๊าซธรรมชาติ ข้อมูลจาก บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)

51 7. ถ่านหิน

52 7. ถ่านหิน

53 7. ถ่านหิน ปริมาณการใช้ถ่านหินในโรงงานควบคุม ค่าการแปลงหน่วย
ข้อมูลจาก กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน

54 8. ชีวมวล

55 8. ชีวมวล

56 5.1 สาขาอุตสาหกรรม ปริมาณการใช้ชีวมวลในโรงงานควบคุม ค่าการแปลงหน่วย
ข้อมูลจาก กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน ผลผลิตพืชเกษตร สัดส่วนชีวมวลต่อผลผลิตพืช สัดส่วนการนำชีวมวลไปใช้ในโรงงาน ปริมาณการใช้ ชีวมวล

57 9. ก๊าซชีวภาพ ปริมาณการผลิตก๊าซชีวภาพต่อวัน ค่าการแปลงหน่วย
ปริมาณการใช้ก๊าซธรรมชาติ ข้อมูลจาก สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน นครพิงค์ มหาวิทยาลัย เชียงใหม่

58 10. พลังงานไฟฟ้า

59 ปริมาณการจำหน่าย ไฟฟ้า ค่าการแปลงหน่วย
10. พลังงานไฟฟ้า ปริมาณการจำหน่าย ไฟฟ้า ค่าการแปลงหน่วย ปริมาณการใช้ไฟฟ้า ข้อมูลจาก การไฟฟ้านครหลวง และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค

60 ดัชนีชี้วัดมิติต่างๆ
มิติด้านเศรษฐกิจและสังคม ECO 1 การใช้พลังงานต่อหัวประชากร (Per Capita Energy Consumption) ECO 2 การใช้พลังงานต่อหน่วย GPP (Energy Intensity) SOC 1 สัดส่วนจำนวนครัวเรือนที่ไม่มีไฟฟ้าใช้

61 ECO 1 การใช้พลังงานต่อหัวประชากร (Per Capita Energy Consumption)

62 ECO 2 การใช้พลังงานต่อหน่วย GPP (Energy Intensity)
$ $ $ $ $ $ เป็นตัวชี้วัดประสิทธิภาพการใช้พลังงานต่อการผลลิตสินค้าและบริการหนึ่งหน่วย ถ้าค่า EI ลดลงแสดงว่ามีการประสิทธิภาพการใช้พลังงานที่ดีขึ้น ซึ่งอาจจะหมายถึงใช้พลังงานเท่าเดิมแต่ได้สินค้ามากขึ้น หรือ ผลิตสินค้าได้เท่าเดิมแต่มีการใช้พลังงานน้อยลง

63 SOC 1 สัดส่วนครัวเรือนที่ไม่มีไฟฟ้าใช้

64 การประมวลผล/คำนวณข้อมูลปฐมภูมิ

65 เนื้อหาในการบรรยาย ลักษณะของโครงการด้านพลังงาน
ตัวอย่างการเก็บข้อมูลโครงการด้านพลังงาน การประมวลผล/คำนวณ ข้อมูลโครงการด้านพลังงาน การนำผลการคำนวณที่ได้ไปใช้งาน

66 ลักษณะของโครงการด้านพลังงาน โครงการ พลังงานทดแทน
โครงการผลิตก๊าซชีวภาพจาก มูลสัตว์ โครงการผลิตเชื้อเพลิงชีวมวล โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน โครงการอบแห้ง โครงการ อนุรักษ์พลังงาน โครงการลดการใช้พลังงานไฟฟ้า โครงการลดการใช้ก๊าซหุงต้ม โครงการลดการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง

67 ตัวอย่างการเก็บข้อมูลโครงการด้านพลังงาน

68 ตัวอย่างการเก็บข้อมูลโครงการพลังงานทดแทน

69 ตัวอย่างการเก็บข้อมูลโครงการพลังงานทดแทน

70 ตัวอย่างการเก็บข้อมูลโครงการอนุรักษ์พลังงาน

71 ตัวอย่างการเก็บข้อมูลโครงการอนุรักษ์พลังงาน

72 การคำนวณข้อมูลโครงการด้านพลังงาน

73 การคำนวณข้อมูลโครงการพลังงานทดแทน
โครงการเชื้อเพลิงชีวมวลทดแทนการใช้ก๊าซหุงต้ม (LPG) ชนิดและปริมาณเชื้อเพลิงชีวมวลที่ใช้ (กิโลกรัมต่อปี) ค่าการแปลงหน่วย ปริมาณการผลิตพลังงาน (ktoe)

74 การคำนวณข้อมูลโครงการพลังงานทดแทน
โครงการผลิตก๊าซชีวภาพ มูลสัตว์ ฟาร์มเลี้ยงสัตว์ มูลที่ระเหยได้ เก็บไม่ได้ เก็บได้ มูลแห้ง

75 การคำนวณข้อมูลโครงการพลังงานทดแทน
โครงการผลิตก๊าซชีวภาพ ประเภทและ จำนวนสัตว์ (ตัว) ค่าการแปลงหน่วย ปริมาณการผลิตพลังงาน (ktoe)

76 การคำนวณข้อมูลโครงการพลังงานทดแทน
โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน ชีวมวล พลังงานไฟฟ้า โรงไฟฟ้าชีวมวล 76

77 การคำนวณข้อมูลโครงการพลังงานทดแทน
โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน ลม พลังงานไฟฟ้า กังหันลมผลิตไฟฟ้า 77

78 การคำนวณข้อมูลโครงการพลังงานทดแทน
โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน แสงอาทิตย์ พลังงานไฟฟ้า Solar cell 78

79 การคำนวณข้อมูลโครงการพลังงานทดแทน
โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน พลังงานไฟฟ้า กังหันน้ำผลิตไฟฟ้า แหล่งน้ำ 79

80 การคำนวณข้อมูลโครงการพลังงานทดแทน
โครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน - กำลังการผลิต (kW) - ระยะเวลาผลิตต่อปี (ชั่วโมง) ค่าการแปลงหน่วย ปริมาณการผลิตพลังงาน (ktoe)

81 โรงอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์
การคำนวณข้อมูลโครงการพลังงานทดแทน โครงการอบแห้ง HEAT กล้วยสุก กล้วยอบแห้ง โรงอบแห้งพลังงานแสงอาทิตย์

82 การคำนวณข้อมูลโครงการพลังงานทดแทน
โครงการอบแห้ง ปริมาณก๊าซหุงต้มที่ทดแทนได้ต่อปี (kg) ค่าการแปลงหน่วย ปริมาณการผลิตพลังงาน (ktoe) ปริมาณไฟฟ้าที่ทดแทนได้ต่อปี (kwh) ค่าการแปลงหน่วย ปริมาณการผลิตพลังงาน (ktoe)

83 การคำนวณข้อมูลโครงการอนุรักษ์พลังงาน
โครงการลดการใช้พลังงานไฟฟ้า

84 การคำนวณข้อมูลโครงการอนุรักษ์พลังงาน
โครงการลดการใช้พลังงานไฟฟ้า ปริมาณไฟฟ้าที่ลดได้ต่อปี (kWh) ค่าการแปลงหน่วย ปริมาณการลดการใช้พลังงาน (ktoe)

85 การคำนวณข้อมูลโครงการอนุรักษ์พลังงาน
โครงการลดการใช้ก๊าซหุงต้ม (LPG)

86 การคำนวณข้อมูลโครงการอนุรักษ์พลังงาน
โครงการลดการใช้ก๊าซหุงต้ม (LPG) ปริมาณก๊าซหุงต้มที่ลดได้ต่อปี (kg) ค่าการแปลงหน่วย ปริมาณการลดการใช้พลังงาน (ktoe)

87 การคำนวณข้อมูลโครงการอนุรักษ์พลังงาน
โครงการลดการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง

88 การคำนวณข้อมูลโครงการอนุรักษ์พลังงาน
โครงการลดการใช้ก๊าซหุงต้ม (LPG) ปริมาณน้ำมันเชื้อเพลิงที่ลดได้ต่อปี (ลิตร) ค่าการแปลงหน่วย ปริมาณการลดการใช้พลังงาน (ktoe)

89 การนำผลการคำนวณที่ได้ไปใช้งาน
การประเมินศักยภาพพลังงานทดแทน การประเมินการใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นสุดท้าย

90 การนำผลการคำนวณที่ได้ไปใช้งาน
การประเมินศักยภาพพลังงานทดแทน (โครงการพลังงานทดแทน)

91 การนำผลการคำนวณที่ได้ไปใช้งาน
การประเมินศักยภาพพลังงานทดแทน (โครงการพลังงานทดแทน) สมมุติ : จังหวัด ก มีศักยภาพพลังงานก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์ 50 ktoe (ประเมินจากข้อมูลทุติยภูมิ) และมีศักยภาพพลังงานชีวมวลจากแกลบ 300 ktoe (ประเมินจากข้อมูลทุติยภูมิ) จังหวัด ก ได้มีโครงการส่งเสริมการผลิตพลังงานทดแทน ดังนี้ ผลิตก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์ ซึ่งผลิตพลังงานได้ 5 ktoe (ข้อมูลปฐมภูมิ) จัดตั้งโรงไฟฟ้าพลังงานแกลบ ซึ่งผลิตพลังงานได้ 20 ktoe (ข้อมูลปฐมภูมิ) จังหวัด ก มีศักยภาพพลังงานก๊าซชีวภาพและพลังงานแกลบเหลือเท่าไหร่

92 การนำผลการคำนวณที่ได้ไปใช้งาน
การประเมินศักยภาพพลังงานทดแทน (โครงการพลังงานทดแทน) ศักยภาพพลังงานทดแทน (ข้อมูลทุติยภูมิ) พลังงานทดแทนที่ใช้ไปในการผลิตพลังงานทดแทน ศักยภาพพลังงานทดแทนที่เหลืออยู่

93 การนำผลการคำนวณที่ได้ไปใช้งาน
การประเมินศักยภาพพลังงานทดแทน (โครงการพลังงานทดแทน)

94 การนำผลการคำนวณที่ได้ไปใช้งาน
การประเมินการใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นสุดท้าย

95 การนำผลการคำนวณที่ได้ไปใช้งาน
การประเมินการใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นสุดท้าย สมมุติ : จังหวัด ข มีข้อมูลทางด้านพลังงานปี 2554, 2555, 2556 ดังตารางต่อไปนี้ ปี พ.ศ. 2554 2555 2556 ปริมาณการใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นสุดท้าย (ktoe) 785 790 805 ปริมาณการลดการใช้พลังงาน (ktoe) (โครงการอนุรักษ์พลังงาน) 20 29 42 ศักยภาพพลังงานทดแทนที่เหลืออยู่ (ktoe) 190 200 195

96 การนำผลการคำนวณที่ได้ไปใช้งาน

97 การนำผลการคำนวณที่ได้ไปใช้งาน
ที่มาของกราฟแต่ละเส้น ปริมาณการใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นสุดท้าย (กรณีไม่มีโครงการด้านพลังงาน) ปริมาณการใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ (ข้อมูลทุติยภูมิ) + ปริมาณพลังงานที่ลดได้จากโครงการ ปริมาณการใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ขั้นสุดท้าย ปริมาณการใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ (ข้อมูลทุติยภูมิ) ปริมาณการใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ที่ลดได้สูงสุด ปริมาณการใช้พลังงานเชิงพาณิชย์ (ข้อมูลทุติยภูมิ) - ศักยภาพพลังงานที่เหลืออยู่

98 จบการนำเสนอ ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt ประมวลผล/คำนวณข้อมูลทุติยภูมิ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google