งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รูปทรงและปริมาตร จัดทำโดย นางสาวเพ็ญประภา กฤษฎาเรืองศรี ตำแหน่ง อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรียนวัดธาตุทอง สำนักงานเขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รูปทรงและปริมาตร จัดทำโดย นางสาวเพ็ญประภา กฤษฎาเรืองศรี ตำแหน่ง อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรียนวัดธาตุทอง สำนักงานเขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รูปทรงและปริมาตร จัดทำโดย นางสาวเพ็ญประภา กฤษฎาเรืองศรี ตำแหน่ง อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรียนวัดธาตุทอง สำนักงานเขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร

2 ทรงกลม ทรงกลม เป็นรูปทรงผิวโค้งเรียบ เช่น ลูกบอล

3 ทรงกระบอก ทรงกระบอก เป็นรูปทรงที่มีหน้าตัด (ฐาน) ทั้งสองข้างเป็นรูปวงกลมที่เท่ากัน ทุกประการ และมีหน้าข้างโค้ง

4 กรวย กรวย เป็นรูปทรงที่มีฐานเป็นรูปวงกลม มีจุดยอดแหลม และมีหน้าข้างโค้ง

5 ปริซึม ปริซึม เป็นรูปทรงที่มีหน้าตัด(ฐาน) ทั้งสองข้างเป็นรูปหลายเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการ มีหน้าข้างเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก การเรียกชื่อปริซึมจะเรียกตามรูปหน้าตัดของปริซึม

6 พีระมิด พีระมิด เป็นรูปทรงที่มีฐานเป็นรูปทรงหลายเหลี่ยม มียอดแหลมและมีด้านข้างเป็นรูปสามเหลี่ยม การเรียกชื่อเรียกตามรูปที่ฐานของพีระมิด

7 ปริมาตร ปริมาตร เป็นขนาดของรูปทรง การหาปริมาตรเป็นการหาขนาดของรูปทรงตัน ส่วนการหาความจุเป็นการหาปริมาตรภายในของรูปทรงที่กลวง ปริมาตรสี่เหลี่ยมมุมฉาก = กว้าง x ยาว x สูง = พื้นที่ฐาน x สูง ลูกบาศก์หน่วย

8 ตัวอย่างที่ กล่องทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากกว้าง 3 เซนติเมตร ยาว 5 เซนติเมตร สูง 4 เซนติเมตร ตวงน้ำตาลทราย 2 ครั้ง เทใส่แก้วน้ำได้เต็มพอดี จงหาปริมาตรของแก้วน้ำ

9 วิธีทำ ปริมาตรทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก = ความกว้าง x ความยาว x ความสูง ความจุของกล่อง = 3 x 5 x 4 ลูกบาศก์เซนติเมตร = ลูกบาศก์เซนติเมตร ตวงน้ำทราย 2 ครั้ง ใส่แก้วน้ำเต็มพอดี แสดงว่า ปริมาตรของแก้วน้ำเป็น 2 เท่าของปริมาตรของกล่องที่ใช้ ตวงน้ำตาลทราย แก้วมีปริมาตร = 60 x ลูกบาศก์เซนติเมตร = ลูกบาศก์เซนติเมตร ตอบ ๑๒๐ ลูกบาศก์เซนติเมตร

10 ตัวอย่างที่ 2 กล่องกระดาษใบหนึ่งมีพื้นที่ก้นกล่อง 625 ตารางเซนติเมตร สูง 20 เซนติเมตร กล่องใบนี้มีความจุกี่ลูกบาศก์เซนติเมตร

11 วิธีทำ ปริมาตรของทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก = พื้นที่ฐาน x สูง กล่องกระดาษมีความจุ = 625 x 20 ลูกบาศก์เซนติเมตร = 12, ลูกบาศก์เซนติเมตร ตอบ ๑๒,๕00 ลูกบาศก์เซนติเมตร

12 การเปรียบเทียบหน่วยวัดปริมาตร 1 ลิตร เท่ากับ 1,000 มิลลิลิตร 1 มิลลิลิตร เท่ากับ 1 ลูกบาศก์เซนติเมตร 1 ลิตร เท่ากับ 1,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร

13 จบแล้วค่ะ..ขอบคุณค่ะ


ดาวน์โหลด ppt รูปทรงและปริมาตร จัดทำโดย นางสาวเพ็ญประภา กฤษฎาเรืองศรี ตำแหน่ง อาจารย์ 1 ระดับ 3 โรงเรียนวัดธาตุทอง สำนักงานเขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google