งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เศรษฐกิจไทย และความท้าทายในระยะต่อไป

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เศรษฐกิจไทย และความท้าทายในระยะต่อไป"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เศรษฐกิจไทย และความท้าทายในระยะต่อไป
อัศวิน อาฮูยา ทีมกลยุทธ์นโยบายการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย 10 มีนาคม 2551

2 2 แนวโน้มการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก สำหรับปี 2008 GDP ของ G3 คาดว่าจะชะลอมากขึ้น และสำหรับเอเชียเริ่มมีความกังวลมากขึ้นถึงผลกระทบ และทำให้มีการปรับลดคาดการณ์ลง Country Actual 2006 GDP CPI inflation 2007 2008 2009 Dec 07 Feb 08 World 5.0 (IMF) 4.0 (Con) 3.7 4.9 3.2 4.1 3.0 3.3 2.9 3.1 2.6 G3 US 2.2 2.2 (2.2) 2.1 1.6 (1.5) 2.8 2.0 EU (Euro zone) 2.6 (2.6) 1.9 1.6 (1.6) 2.3 2.5 Japan 1.8 1.9 (1.9) 1.5 1.4 (1.5) 0.0 0.4 0.5 Northeast Asia China 11.1 11.4 11.4 (11.4) 10.5 10.3 (10.0) 9.7 4.6 4.8 4.5 3.5 Taiwan 4.7 5.3 5.5 4.3 1.6 Hong Kong 6.9 6.0 5.2 5.1 3.6 South Korea 5.0 Southeast Asia Singapore 7.9 8.0 7.5 6.3 5.6 5.9 3.4 2.4 Malaysia 6.1 5.7 2.7 Philippines 5.4 7.3 5.8 Indonesia 6.2 6.4 6.6 6.8 Thailand 4.4 Source: Consensus Forecast ( 70 countries) as of December 07 and February 08 Note: numbers in ( ) are from WEO Jan 2008 projection’ revision 2

3 Fed และ Consensus ปรับลดประมาณการการขยายตัวเศรษฐกิจสหรัฐฯ ในปี 2008 และ 2009
Real GDP: Fed’s forecast 2008 2009 January Projections % % October Projections % % Real GDP: Consensus 2008 No. of participants 2009 No. of participants February Projections avg: 2.6% (as of 15 Feb 08) February Projections avg: 1.6% (as of 15 Feb 08) จากการประมาณการของ Fed คาดว่าการขยายตัวของ GDP จะต่ำกว่า trend (2.5) ในปี 2008 จาก(1) การหดตัวของตลาดที่อยู่อาศัย (2)ภาวะตึงตัวของสินเชื่อเพื่อการบริโภคและธุรกิจ (3) ความผันผวนของตลาดการเงิน (4) ราคาน้ำมันที่อยู่ในระดับสูง และ(5) อัตราว่างงานที่โน้มสูงขึ้น การกระตุ้นทางการคลังจะมีผลช่วยพยุงอุปสงค์ภายในประเทศเป็นการชั่วคราวในช่วงครึ่งปีหลัง ปัจจัยที่จะช่วยสนันสนุนการฟื้นตัวของเศรษฐกิจในช่วงต่อไปหลังจากปี 2008 (1) ตลาดบ้านปรับตัวดีขึ้น (2) อัตราดอกเบี้ยที่อยู่ในระดับต่ำ เมื่อรวมกับสมมติฐานการปรับลดอัตราดอกเบี้ยของ Fed ที่ผ่านมารวมถึงในวันที่ 30 เดือนมกราคมที่ผ่านมานี้ Fed คาดว่าเศรษฐกิจ ของสหรัฐฯ จะกลับมาขยายตัวสูงกว่า Trend ในปี 2010 สำหรับอัตราเงินเฟ้อ ในปี 2008 และ 2009 จะโน้มต่ำลงจากราคาน้ำมันที่เริ่มทรงตัวอยู่ในระดับสูง และการชะลอตัวของเศรษฐกิจโดยรวม

4 Commodity price and oil price (Monthly average)
ความเสี่ยงต่อเงินเฟ้อเพิ่มขึ้นเนื่องจากราคาน้ำมันและสินค้าโภคภัณฑ์อื่นๆ ยังอยู่ในระดับสูง และราคาอาหารปรับเพิ่มขึ้น Index (2002=100) Agricultural Price (Monthly Close) $/Barrel Commodity price and oil price (Monthly average) Oil (LHS) 2/ Food 3/ Metal1/ Jan Jan Foodstuffs growth 1/ Grain and Oil Seeds growth2/ Source: 1/ CRB Foodstuffs Sub-index 2/ Reuters-CRB Grains and Oilseeds Sub-index Source: 1/ LMEX ; 2/ Bloomberg: WTI ; /Hamburg Institute of International Economics (HWWI) $/ounce Index $ per unit US dollar and Gold price 25 Feb Industrial Raw Material Prices 25 Feb Depreciation Dollar index (RHS) Copper Aluminium Gold Price Lead Source: Bloomberg Source: Bloomberg

5 การดำเนินนโยบายการเงินของประเทศต่างๆ
Current rate (%) Last Meeting/ % change D Jan07- Dec07 (bp) D Jan08- present (bp) Inflation (%) สวีเดน 4.25 12 Feb 08/+0.25 100 25 3.2 Jan ออสเตรเลีย 7.00 5 Feb 08/+0.25 50 3.0 Q4/07 จีน 1/ 7.47 20 Dec 07/+0.18 135 7.1 Jan ไต้หวัน 3.375 20 Dec 07/+0.125 62.5 3.0 Jan มาเลเซีย 3.50 25 Feb 08 2.3 Jan ญี่ปุ่น 0.50 15 Feb 08 0.7 Dec 07 เกาหลีใต้ 5.00 13 Feb 08 3.9 Jan Euro area 4.00 06 Mar 08 อินโดนีเซีย 8.00 6 Feb 08 -175 7.4 Jan อินเดีย 2/ 6.00 29 Jan 08 4.1 Jan นิวซีแลนด์ 8.25 24 Jan 08 3.2 Q4/07 นอร์เวย์ 5.25 23 Jan 08 175 1.9 Jan อังกฤษ -25 2.2 Jan ไทย 3.25 16 Jan 08 4.3 Jan ฟิลิปปินส์ 31 Jan 08/-0.25 -225 4.9 Jan สหรัฐฯ 3/ 3.00 22,30 Jan 08/-0.75,-0.50 -100 -125 ฮ่องกง 4.50 23,31 Jan 08/-0.75,-0.50 แคนาดา 22 Jan 08/ -0.25 -75 กลุ่มปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย: ธนาคารกลางจีน (วันที่ 21 สิงหาคม 2550) ประกาศขึ้นอัตราดอกเบี้ยเงินกู้ยืมระยะเวลา 1 ปี ร้อยละ 0.18 จากร้อยละ 6.84 เป็นร้อยละ 7.02 โดยเริ่มมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 22 สิงหาคม 2550 การปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อให้อัตราดอกเบี้ยเงินฝากที่แท้จริงเป็นบวกมากขึ้นรวมทั้ง ต้องการชะลอการไหลออกของเงินฝากไปยังตลาดหุ้น และเพื่อชะลอการขยายตัวของสินเชื่อและสภาพคล่องที่มีอยู่ในระบบ ธนาคารกลางเกาหลีใต้ (9 สิงหาคม 2550) ได้ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย Uncollateralized Overnight Rate จากร้อยละ 4.75 เป็นร้อยละ 5.00 ซึ่งนับเป็นการปรับขึ้นดอกเบี้ยต่อเนื่องครั้งที่ 2 ในรอบปีนี้ หลังจากปรับขึ้นในครั้งล่าสุดเมื่อวันที่ 12 กรกฎาคม 2550 โดยมีปัจจัยสำคัญมาจากสภาพคล่องในระบบและการปล่อยสินเชื่อของสถาบันการเงินยังคงเร่งตัวอย่างต่อเนื่อง กอปรกับราคาอสังหาริมทรัพย์ในประเทศที่มีแนวโน้มสูงขึ้นอาจส่งผลให้อัตราเงินเฟ้อเร่งตัวขึ้นในระยะต่อไป นอกจากนี้ เศรษฐกิจของเกาหลีใต้ยังคงขยายตัวต่อเนื่อง โดยไตรมาสที่ 2 ขยายตัวร้อยละ 4.9 เร่งขึ้นจากร้อยละ 4.0 ในไตรมาสก่อนหน้า โดยเป็นผลมาจากภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการที่ขยายตัวอยู่ในเกณฑ์ดี ธนาคารกลางออสเตรเลีย (7 สิงหาคม 2550) ประกาศขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Cash Rate) ร้อยละ 0.25 เป็นร้อยละ 6.5 ซึ่งเป็นการปรับขึ้นครั้งแรกในปีนี้ หลังจากปรับขึ้นครั้งล่าสุดในเดือนพฤศจิกายนปีที่แล้ว ปัจจัยหลักสำหรับการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยในครั้งนี้ มาจากแรงกดดันด้านระดับราคาที่สูงขึ้น โดยอัตราเงินเฟ้อในไตรมาสที่ 2 ของปีนี้อยู่ที่ร้อยละ 2.1 (yoy) สูงกว่าที่ธนาคารกลางคาดไว้ที่ร้อยละ 1.75 และแม้ว่าจะชะลอลงเมื่อเทียบกับร้อยละ 2.4 ในไตรมาสก่อนหน้า (ธนาคารกลางออสเตรเลียกำหนดเป้าหมายอัตราเงินเฟ้อโดยเฉลี่ยต่อปีที่ร้อยละ ) ธนาคารกลางนิวซีแลนด์ (วันที่ 26 กรกฎาคม 2550) ได้ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Official Cash Rate) ร้อยละ 0.25 เป็นร้อยละ 8.25 ซึ่งเป็นการปรับขึ้นเป็นครั้งที่ 4 ติดต่อกัน นับตั้งแต่เดือนมีนาคม (ในเดือนพฤษภาคมไม่มีการประชุม) ปัจจัยหลักสำหรับการปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยในครั้งนี้ มาจากแรงกดดันด้านระดับราคาที่มีมากขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากตลาดแรงงานที่ยังคงตึงตัว อัตราการใช้กำลังการผลิตสูง ประกอบกับราคาน้ำมันและราคาอาหารที่เพิ่มสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้ ราคาสินค้าโภคภัณฑ์ โดยเฉพาะราคาผลิตภัณฑ์ Dairy ที่สูงขึ้น จากอุปสงค์ในตลาดโลกทำให้การส่งออกผลิตภัณฑ์ Dairy ซึ่งเป็นสินค้าส่งออกหลักของประเทศที่ยังคงขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ปัจจัยดังกล่าวส่งผลให้เศรษฐกิจนิวซีแลนด์ยังขยายตัวได้อย่างแข็งแกร่ง ธนาคากลางแคนาดา (10 กรกฎาคม 2550) ได้ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย (Overnight Lending Rate) จากร้อยละ 4.25 เป็นร้อยละ 4.50 (หลังจากปรับขึ้นครั้งล่าสุดเมื่อเดือนพฤษภาคม 2549) จากความกังวลเรื่องเศรษฐกิจและเงินเฟ้อที่ขยายตัวสูงกว่าคาด โดยอัตราเงินเฟ้อของแคนาดาปัจจุบันสูงกว่าเป้าหมายที่ร้อยละ 2 ติดต่อกันมาเป็นเวลา 4 เดือน (ล่าสุดเดือนพฤษภาคมอยู่ที่ร้อยละ 2.2) ธนาคารกลางแคนาดามองว่าความเสี่ยงของเงินเฟ้อ “roughly balanced” เนื่องจากด้านหนึ่งมองว่าอุปสงค์ที่สูงกว่าคาดของภาคครัวเรือนอาจจะทำให้เงินเฟ้อสูงขึ้น ในขณะที่ค่าเงินที่แข็งค่าขึ้นประกอบกับการชะลอตัวของตลาดที่อยู่อาศัยในสหรัฐฯ จะทำให้ราคาไม่ปรับสูงขึ้นมาก ทั้งนี้ ธนาคารกล่าวว่าอาจจะมีความจำเป็นในการขึ้นอัตราดอกเบี้ยอีกครั้ง “some modest further increase in the overnight rate may be required” โดยตลาดคาดว่าอาจจะปรับขึ้นอีกครั้งในเดือนกันยายนนี้ ธนาคารกลางไต้หวัน (วันที่ 22 มิถุนายน 2550) ได้ปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ยนโยบาย Discount rate เป็นร้อยละ จากร้อยละ โดยมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 22 มิถุนายน 2550 เป็นต้นไป เนื่องจากคาดว่าอัตราเงินเฟ้อจะเร่งตัวขึ้นมาอยู่ที่ร้อยละ 1.93 (yoy) ในครึ่งปีหลังของปีนี้ จากร้อยละ 0.99 ในช่วงครึ่งปีแรกโดยมีปัจจัยผลักดันจากราคาขายส่ง (wholesale prices) ที่เริ่มปรับตัวสูงขึ้นต่อเนื่อง อีกทั้งคาดการณ์ว่าจะมีการปรับเพิ่มค่าจ้างขั้นต่ำในเดือนกรกฎาคม ประกอบกับเศรษฐกิจของไต้หวันคาดว่าจะขยายตัวดีขึ้นในครึ่งปีหลัง เนื่องจากได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการขยายตัวเศรษฐกิจยุโรปและภูมิภาคเอเชียที่อยู่ในเกณฑ์ดี อีกทั้งการเริ่มฟื้นตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ จีนปรับขึ้น reserve requirement จากร้อยละ 14.5 เป็นร้อยละ 15.0 เมื่อวันที่ 16 ม.ค. 51 มีผลวันที่ 25 ม.ค. 51 ธนาคารกลางอินเดียประกาศเพิ่ม Cash Reserve Ratio (CRR) ร้อยละ 0.5 จากร้อยละ 7.0 เป็นร้อยละ 7.5 โดยให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 10 พ.ย. 2550 คณะกรรมการนโยบายการเงินของ Fed ได้ปรับลดอัตราดอกเบี้ย discount rate ลงสำหรับ primary credit discount window จากร้อยละ 4.00 เป็นร้อยละ 3.50 เมื่อวันที่ 30 มกราคม 2551 Source: Bloomberg 5

6 อัตราดอกเบี้ยนโยบายที่แท้จริงของไทยเทียบกับภูมิภาค อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่แท้จริงลดลงมาอย่างต่อเนื่อง % p.a. Real Policy Rates (as of Jan 08) % Jan 08 6.87 2.61 2.31 -1.0 * Interest rates quoted by 4 largest Thai banks ** Real MLR and real policy rates are adjusted by contemporaneous headline inflation. *** Real 12m deposit is adjusted by expected headline inflation 12 months ahead. Source : BOT staff’s calculation

7 อัตราแลกเปลี่ยน ความสามารถในการแข่งขันด้านราคา และความสามารถในการซื้อสินค้าและบริการจากต่างประเทศ
Real Effective Exchange Rates (REER) as of Jan 08 % change from Dec 06 % change from Dec 07 Actual volatility (compared to USD) NEER REER vs. USD vs. USD Jan – Dec 2007 Jan-Feb 2008 PHP 14.8 16.1 21.4 0.5 1.1 2.3 6.8 7.2 INR 4.8 5.4 10.8 -2.0 -1.2 -1.1 5.1 3.4 CNY 3.0 8.0 9.2 1.3 2.8 1.6 2.5 MYR 3.3 1.8 10.4 1.4 3.5 4.1 4.7 SGD 2.1 4.5 0.8 2.2 THB 9.9 0.9 3.2 2.7 JPY 2.9 -2.2 9.6 3.6 1.9 5.0 8.8 9.8 IDR -7.9 -3.2 -0.2 1.7 0.4 7.7 4.0 TWD -4.1 -5.4 0.6 -0.3 KRW -8.9 -8.5 -1.9 -3.3 -2.8 -1.3 3.1 Sources: BIS, BOT

8 การขยายตัวของเศรษฐกิจไทย
Contribution to GDP growth % Private demand Source: NESDB, BOT

9 เศรษฐกิจไทยเดือนมกราคม จากเครื่องชี้ด้านอุปทาน
ด้านอุปทาน ผลผลิตภาคเกษตร และราคาพืชผลสำคัญยังคงขยายตัวดี ส่งผลให้รายได้เกษตรกรขยายตัวในเกณฑ์สูง ขณะที่ ผลผลิตภาคอุตสาหกรรม ขยายตัวในเกณฑ์ดีต่อเนื่อง โดยเฉพาะการผลิตเพื่อการส่งออก ภาคการท่องเที่ยว ยังอยู่ในเกณฑ์ดี 2006 2007 2008 H1 H2 Q3 Q4 Dec Jan ผลผลิตภาคเกษตร 6.3 1.4 1.6 1.2 -2.0 2.9 12.1 7.1 ราคาพืชผลสำคัญ 24.4 14.9 17.5 12.4 15.1 10.0 13.3 13.5 รายได้เกษตรกร (%YoY) 32.2 16.5 19.4 13.7 12.8 13.2 27.0 21.6 จำนวนนักท่องเที่ยว (%YoY) 20.0 4.6 3.3 5.8 2.7 8.5 4.8 ดัชนีผลผลิตอุตสาหกรรม (%YoY) 7.4 8.2 10.5 8.9 11.6 12.5 อัตราการใช้กำลังการผลิต (ร้อยละ) 73.9 74.7 74.1 75.1 76.5 77.9 76.9

10 เศรษฐกิจไทยเดือนมกราคม จากเครื่องชี้ด้านอุปสงค์
ด้านอุปสงค์ เครื่องชี้การบริโภคและการลงทุนของภาคเอกชน ขยายตัวดีสอดคล้องกับการนำเข้า ขณะที่การส่งออก ขยายตัวในเกณฑ์สูงต่อเนื่อง (%YoY) 2006 2007 2008 H1 H2 Q3 Q4 Dec Jan ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน 3.1 2.5 1.6 3.4 2.6 4.2 2.4 8.5 %mom, qoq sa 2.0 -1.7 4.9 ดัชนีการลงทุนภาคเอกชน 1.5 -0.6 -3.1 1.8 -0.2 3.9 4.6 % mom, qoq sa 3.2 2.2 0.7 ~0.0 มูลค่าการส่งออก 17.0 18.1 17.9 18.3 12.6 24.0 19.5 33.6E ปริมาณการส่งออก 11.2 11.8 12.5 11.1 7.8 14.3 9.8 n.a. มูลค่าการนำเข้า 7.9 9.6 6.7 12.4 8.4 16.6 10.6 40.1E ปริมาณการนำเข้า 1.4 4.1 4.8 5.5 -1.3

11 ในภาพรวมสินเชื่อภาคธุรกิจเริ่มปรับตัวดีขึ้น สินเชื่อภาคครัวเรือนยังขยายตัวดีตามสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย %YoY Jan 08 5.1 1.6 หมายเหตุ: * ไม่รวมสินเชื่อที่ปล่อยให้กับสถาบันการเงิน รัฐบาล และองค์กรระหว่างประเทศ

12 ภาวะแรงงานจาก Labour Force Survey ชี้ว่าตลาดแรงงานตึงตัว
(% YoY) Share 2006 2007 Q1 Q2 Q3 Nov Dec Labour force 1.1 1.4 0.7 2.0 0.6 2.2 1. Employed person 100.0 1.5 1.8 2.1 0.9 2.3 1.1 Agriculture 43.3 4.6 2.8 -0.5 1.2 -1.6 3.3 1.2 Non-agriculture 55.7 -0.4 2.9 2.6 1.6 - Service1 22.6 -0.1 3.8 3.0 4.3 - Manufacturing 14.0 -0.9 0.2 1.3 5.4 4.2 - Construction 4.1 -4.9 -4.7 -6.2 - Wholesale & retail trade 14.1 -0.8 0.4 3.5 -2.4 2. Unemployed person 0.5 0.3 Unemployment rate (%) 0.8 การสำรวจภาวะการมีงานทำของประชากร เดือนธันวาคม 2550 ภาวะตลาดแรงงาน ตลาดแรงงานมีกำลังแรงงานรวมทั้งสิ้น 37.8 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.2 จากระยะเดียวกันปีก่อน เป็นผู้มีงานทำ 37.4 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.3 จากระยะเดียวกันปีก่อน อัตราการว่างงานอยู่ที่ร้อยละ 0.8 ของกำลังแรงงานรวม ลดลงจากเดือนก่อนหน้าที่ร้อยละ 1.1เป็นผลสำคัญจากการขยายตัวของการจ้างงานในภาคเกษตร ภาวะการจ้างงาน การจ้างงานในภาคเกษตรมีทั้งสิ้น 16.4 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 3.3 จากระยะเดียวกันปีก่อน การจ้างงานนอกภาคเกษตรมีทั้งสิ้น 21.1 ล้านคน เพิ่มขึ้นร้อยละ 1.6 จากระยะเดียวกันปีก่อน โดยเป็นการเพิ่มขึ้นของภาคการผลิต และภาคบริการ ขณะที่การจ้างงานในภาคการก่อสร้าง และภาคการค้าส่งและค้าปลีกหดตัวลง Source: NSO Note: Services includes Electricity gas and water supply , Hotels and restaurants, Transport storage and communications, Financial intermediation, Real estate renting and business activities, Education, Public administration and defence, Health and social work and Social and personal service activities.

13 แรงกดดันด้านราคาล่าสุดยังคงเพิ่มขึ้น
% YoY % YoY ( ) figures for Feb 2008 Source: Ministry of Commerce, calculated by BOT

14 ผลสำรวจผู้ประกอบการคาดการณ์ว่าอัตราเงินเฟ้อน่าจะสูงขึ้น
สัดส่วนของผู้ประกอบการที่คาดว่าเงินเฟ้อจะ > 4% ในอีก 12 เดือนข้างหน้ามีมากขึ้นต่อเนื่อง สอดคล้องกับการคาดการณ์อัตราเพิ่มของต้นทุน โดยสัดส่วนของผู้ประกอบการที่คาดว่าต้นทุนจะสูงขึ้น > 3% มีมากขึ้นเป็นลำดับ ที่มา: สำรวจผู้ประกอบการ

15 แนวโน้มเศรษฐกิจไทยในปี 2551
(ร้อยละ) 2549 2550 2551E 2552E อัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจ 5.0 4.8E 4.5 – 6.0 อัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน 2.3 1.1 1.3 – 2.3 1.5 – 2.5 อัตราเงินเฟ้อทั่วไป 4.7 2.8 – 4.0 1.8 – 3.3 ที่มา: รายงานแนวโน้มเงินเฟ้อ มกราคม 2551

16 GDP growth forecast (as of January 2008)
Annual percentage change (%) ในภาพรวมคณะกรรมการฯ ประเมินว่าน้ำหนักความเสี่ยงด้านลบสูงกว่าความเสี่ยงด้านบวก ขณะเดียวกันความไม่แน่นอนต่างๆ เพิ่มมากขึ้นจากรายงานฉบับก่อนเนื่องจากผลกระทบของปัญหา Subprime ยังไม่แน่ชัด ขณะที่ราคาน้ำมันมีความผันผวนสูงขึ้น ดังนั้น Fan Chart ของอัตราการขยายตัวทางเศรษฐกิจในครั้งนี้จึงมีลักษณะบานขึ้นเพื่อสะท้อนปัจจัยเสี่ยงที่มากขึ้นดังกล่าว และเบ้ลงตลอดช่วงประมาณการ หมายเหตุ ส่วนของ Fan chart ที่บุ๋มลง (kink) ในไตรมาสที่ 4 ของปี 2551 เป็นผลของฐานในปีก่อนหน้า Remark: The fan chart covers 90 per cent of the probability distribution

17 Headline inflation forecast (as of January 2008)
Annual percentage change (%) โดยรวมแล้ว คณะกรรมการฯ ประเมินว่าความเสี่ยงด้านบวกต่ออัตราเงินเฟ้อทั่วไปมีมากขึ้น โดยเฉพาะจากราคาน้ำมัน ทำให้ Fan Chart ของอัตราเงินเฟ้อทั่วไปบานและเบ้ขึ้น Remark: The fan chart covers 90 per cent of the probability distribution

18 Core inflation forecast (as of January 2008)
Annual percentage change (%) สำหรับอัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน คณะกรรมการฯ เห็นว่าความเสี่ยงที่การส่งผ่านจะรุนแรงกว่าที่คาดไว้ยังมีอยู่ ทำให้ Fan Chart ของอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานมีเบ้ขึ้นเล็กน้อย Remark: The fan chart covers 90 per cent of the probability distribution


ดาวน์โหลด ppt เศรษฐกิจไทย และความท้าทายในระยะต่อไป

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google