งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550
แนวคิดและแนวทางดำเนินการ ยุทธศาสตร์ชาติเพื่อการพัฒนาที่อยู่อาศัย (ครั้งที่ 1) สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550

2 ประสบการณ์ นโยบายที่อยู่อาศัยแห่งชาติ
ประเทศไทยเคยมีแผนนโยบายที่อยู่อาศัยระดับชาติ 2 ฉบับคือ นโยบายการพัฒนาที่อยู่อาศัย พ.ศ. 2526 นโยบายการพัฒนาที่อยู่อาศัย (ฉบับปรับปรุง) พ.ศ. 2531 ผู้รับผิดชอบคือ คณะกรรมการนโยบายที่อยู่อาศัย

3 นโยบายการพัฒนาที่อยู่อาศัย พ.ศ. 2526
มีขนาดค่อนข้างสั้น (24 หน้า) ประกอบด้วยนโยบายส่วนรวม และนโยบายเฉพาะ นโยบายส่วนรวม พัฒนาคุณภาพชีวิต การก่อสร้าง การเงิน องค์กรและการประสานงาน นโยบายเฉพาะ แยกเป็น นโยบายเฉพาะการเคหะแห่งชาติ นโยบายเฉพาะธนาคารอาคารสงเคราะห์

4 นโยบายการพัฒนาที่อยู่อาศัย (ปรับปรุง) พ.ศ. 2531
เหตุผลที่ปรับปรุง: ตลาดที่อยู่อาศัยขยายตัวเร็วมาก จากมาตรการกระตุ้นของรัฐบาล ใช้วิธีการ: (ก) ประเมินสภาพปัญหา (ข) กำหนดนโยบายเพื่อแก้ปัญหา (ค) กำหนดมาตรการ สภาพปัญหา กทม: ปัญหาโดยรวม: คุณภาพที่อยู่อาศัย สิ่งแวดล้อม สาธารณูปโภค การผลิต: ภาครัฐผลิตน้อย เอกชนขาดระบบจัดการดูแล บางครั้งผลิตมากเกินควร การเงิน: ธอส. เงินทุนระยะยาวไม่เพียงพอ ธพ.อื่นคิดดอกเบี้ยสูง แต่ดีขึ้นเรื่อย ๆ ผู้มีรายได้น้อยเข้าไม่ถึงเงินทุนเคหะ ที่ดิน: ชุมชนแออัดส่วนใหญ่เช่าที่ บางส่วนบุกรุกที่ราชการ แต่มีที่ว่างอยู่มาก (50%) มีการแบ่งย่อยที่ดินมากขึ้น เพื่อเลี่ยงข้อบังคับผังเมือง รัฐพัฒนาสาธารณูปโภคไม่ทัน

5 นโยบายการพัฒนาที่อยู่อาศัย (ปรับปรุง) พ.ศ. 2531
สภาพปัญหา กทม (ต่อ): กฎหมาย ระเบียบ: กทม. บังคับที่ว่างด้านหน้าตึกมากเกินไป หลีกเลี่ยงการขออนุญาตจัดสรรที่ดิน องค์กรและการประสานงาน: ไม่ประสานงานเท่าที่ควร ความเจริญไปตามถนนหลัก ขาดสาธารณูปโภคในส่วนอื่น เกิดที่ว่างเปล่าประโยชน์มาก เทคโนโลยีและวัสดุก่อสร้าง: วัสดุก่อสร้างไม่ได้มาตรฐาน นำเข้ามาก เครื่องจักรราคาสูง R&D มีน้อยมาก กิจกรรมพัฒนาทางสังคม: ผู้อยู่บ้านจัดสรรไม่เข้าร่วมกิจกรรมส่วนรวม รัฐไม่ส่งเสริมเพียงพอ สำหรับในเคหะชุมชน คนย้ายเข้าออกบ่อย ชุมชนไม่ต่อเนื่อง รัฐขาดกำลังพล ขาดแผนงาน ล่าช้า

6 นโยบายการพัฒนาที่อยู่อาศัย (ปรับปรุง) พ.ศ. 2531
สภาพปัญหา ภูมิภาค: มีส่วนคล้ายกับในเขต กทม. คือ ปัญหาคุณภาพที่อยู่อาศัย สินเชื่อไม่เพียงพอ มีชุมชนแออัดในเมืองใหญ่ ผู้ผลิตยังผลิตไม่สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย ตลาดที่ดิน ส่วนใหญ่ปลูกสร้างเอง จัดสรรน้อยกว่า กทม. มีความเป็นผังเมืองกว่า กทม. ชนบทไม่มีปัญหาขาดแคลนที่อยู่อาศัย แต่มีปัญหาสภาพเสื่อมโทรม การสร้างขาดหลักวิชา ขาดบริการสาธารณะรุนแรง (การศึกษา สาธารณสุข คมนาคม น้ำดื่มน้ำใช้)

7 โครงการยุทธศาสตร์ชาติเพื่อการพัฒนาที่อยู่อาศัย พ.ศ. 2550
สร้างกรอบแนวทางยุทธศาสตร์ชาติเพื่อการพัฒนาที่อยู่อาศัย ครอบคลุมที่อยู่อาศัยทุกระดับ ทุกประเภท ทุกพื้นที่ เน้นการระดมความคิดจากทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง มีงานวิจัยรองรับเท่าที่เป็นไปได้ ผลลัพธ์ที่คาดหมาย ผลการระดมความคิดที่ครอบคลุมประเด็นทางนโยบายครบถ้วน รวบรวมข้อดี-ข้อเสีย ของแต่ละมาตรการ/นโยบาย ผลงานสุดท้าย คือ ทางเลือกนโยบาย (policy options) ในระยะ 5-10 ปีข้างหน้า สำหรับให้พรรคการเมือง/รัฐบาลนำไปใช้

8 สัมมนา 1 (รวบรวมประเด็น) สัมมนา 3-4 (สังเคราะห์และสรุป)
แผนการดำเนินงาน สัมมนา 1 (รวบรวมประเด็น) ประเด็น 1 ประเด็น x ประเด็น 3 ประเด็น 5 ประเด็น 2 ประเด็น 6 สัมมนา 2.x สัมมนา 2.3 สัมมนา 2.1 สัมมนา 2.2 สัมมนา 3-4 (สังเคราะห์และสรุป)

9 การสัมมนา ครั้งที่ 1 วัตถุประสงค์ วิธีการ
รวบรวมประเด็นหลักการพัฒนาที่อยู่อาศัยครบถ้วน เสริมด้วยประเด็นย่อยในแต่ละประเด็นหลักพอสมควร วิธีการ บรรยายนำโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 2 รอบช่วงเช้า อภิปรายกลุ่ม 6 กลุ่ม ช่วงบ่าย

10 ตัวอย่างประเด็นการอภิปราย
Demand & Supply ผังเมือง สาธารณูปโภค กฎหมาย ระเบียบ โครงสร้างภาษี การเงิน สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย รูปแบบองค์กรกำกับดูแลนโยบายที่อยู่อาศัย ระบบข้อมูลที่อยู่อาศัย บทบาทภาครัฐ vs ภาคเอกชน + ประเด็นต่าง ๆ ข้างต้นสำหรับที่อยู่อาศัยเพื่อผู้มีรายได้น้อย


ดาวน์โหลด ppt สมชัย จิตสุชน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย 16 กุมภาพันธ์ 2550

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google