งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

จัดทำโดย นายวิทยา หาญอาษา และ นายธวัช มุดไธสง อาจารย์ที่ปรึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "จัดทำโดย นายวิทยา หาญอาษา และ นายธวัช มุดไธสง อาจารย์ที่ปรึกษา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การศึกษาและทดสอบเครื่องลำเลียงมันสำปะหลัง A STUDY AND TEST OF CASSAVA-ROOT-CONVEYOR
จัดทำโดย นายวิทยา หาญอาษา และ นายธวัช มุดไธสง อาจารย์ที่ปรึกษา ดร.ชัยยันต์ จันทร์ศิริ สาขาวิชาวิศวกรรมเกษตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2554

2 1.ที่มาและความสำคัญ การลำเลียงมันสำปะหลังในปัจจุบันจำเป็นต้องใช้แรงงานที่แข็งแรง มีความเสียงต่อสุขภาพและการบาดเจ็บจากการลำเลียงมันสำปะหลังได้ ใช้เวลามากในการลำเลียงอีกทั้งค่าแรงที่มากกว่าคนงานในหน้าที่อื่นๆ Male strength Accident

3 ขั้นตอนการทำงานโดยใช้แรงงานคน
การเก็บหัวมัน การยกเข่ง การลำเลียง

4 2.วัตถุประสงค์ของโครงการ
ดังที่ได้กล่าวมาในข้างต้นเกี่ยวกับปัญหาในกรับวนการเก็บเกี่ยวหัวมันสำปะหลัง จากการทดทองเบื้องต้นเกี่ยวกับการลำเลียงมันสำปะหลัง ปัญหาที่พบในขั้นตอนการปฏิบัติงานจะเป็นปัญหาเกี่ยวกับแรงงานคน จึงได้มีการจัดทำโครงงานนี้ขึ้นเพื่อช่วยเหลือเกษตรกร โดยมีวัตถุประสงค์ในการดำเนินงาน ดั้งนี้ 1 ศึกษาขั้นตอนการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง 2 ทดสอบอุปกรณ์ลำเลียงมันสำปะหลัง ภายหลังการขุนขึ้นรถบรรทุก

5 3.ขอบเขตของการศึกษา เพื่อศึกษาและทดสอบเครื่องลำเลียงมันสำปะหลังขึ้นรถบรรทุกภายหลังการขุด จึงได้วางแผนการดำงาน เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี้ 1. สำรวจปัญหาของการลำเลียงมันสำปะหลังขึ้นรถบรรทุกจากเกษตรกรรายย่อย 2. ศึกษาขั้นตอนการเก็บเกี่ยวมันสำปะหลัง 3. ทดสอบการทำงานของเครื่องลำเลียงมันสำปะหลังภายหลังการจากขุดแล้ว

6 4.ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ได้เครื่องลำเลียงต้นแบบ ได้ทราบอัตราการทำงานที่แท้จริง ทราบการทำงานของการเลียงที่เหมาะสม เป็นแนวทางในการปรับปรุงและศึกษาต่อ

7 5.วิธีการดำเนินการศึกษา
ในส่วนของบทนี้เป็นวิธีการดำเนินงานเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ในการวิเคราะห์ 1.สำรวจปัญหาของการลำเลียมันสำประหลังและความต้องการลำเลียงมันสำประหลังด้วยเครื่องลำเลียงในปัจจุบัน

8 สัดส่วนการบรรทุกต่อพื้นที่

9 2.ศึกษาพฤติกรรมและปัจจัยการทำงานที่มีผลต่ออัตราการทำงานของแรงคนในแต่ละขั้นตอนการลำเลียงมันสำประหลังขึ้นรถบรรทุกในปัจจุบัน

10 2.เฟืองใหญ่ 3.ราวกันเข่ง 4.แผ่นรองเข่ง 5.จุดต่อต้นกำลัง 6.จุดต่อพ่วง
3.ศึกษาเครื่องลำเลียง 1.แขนประคอง 2.เฟืองใหญ่ 3.ราวกันเข่ง 4.แผ่นรองเข่ง 5.จุดต่อต้นกำลัง 6.จุดต่อพ่วง 7.กระบอกปรับความสูง 8.เสาค้ำยัน

11 4.แทรกเตอร์ที่ใช้เป็นต้นกำลัง แทรกเตอร์ที่ใช้ KOBUTA ขนาด 46

12 6.ผลการทดสอบและอภิปลายผล
VDO TESTING

13 1.ศึกษาการเก็บหัวมันใส่เข่งใช้คนเก็บ 1,2และ3 คนลงในเข่งทั้งหมด6 เข่ง

14 2.ทดสอบการลำเลียงมันสำประหลังขึ้นรถบรรทุกด้วยเครื่องลำเลียง
แบบที่ 1 การเทเข่งมันใส่รถบรรทุกจำนวน 1 คน

15 แบบที่ 2 การเทเข่งมันใส่รถบรรทุกจำนวน 2 คน

16 กราฟแสดงการทำงาน การลำเลียงตั้งแต่2 คนขึ้นไปจะมีความแตกต่างกัน ดังนั้นในการลำเลียงจะต้องใช้คนตั้งแต่สองคนขึ้นไป

17 7.สรุปผล ศึกษาการเก็บหัวมันใส่เข่งใช้คนเก็บ 1,2 และ3 คนลงในเข่งทั้งหมด 6 เข่งได้อัตราการทำงาน 0.6,2.7และ2.9 (ไร่/คน-ชม.) ตามลำดับ แบบที่ 1 การเทเข่งมันใส่รถบรรทุกจำนวน 1 คนได้ อัตราการทำงานของเครื่อง เวลาการลำเลียง 6.49,7.81และ7.74 (ตัน/ hr) เวลาในการเท49.15,50.20และ48.74 (ตัน/ hr) แบบที่ 2 การเทเข่งมันใส่รถบรรทุกจำนวน 2 คนได้ อัตราการทำงานของเครื่อง เวลาการลำเลียง 6.41,7.71และ8.90 (ตัน/ hr) เวลาในการเท 49.88, และ (ตัน/ hr)

18 ข้อเสนอแนะ ควรมีการศึกษาเพิ่มเติมเกี่ยวกับความเร็วของรอบเครื่องยนต์ เพราะถ้าความเร็วของรอบเครื่องยนต์เปลี่ยนไป ความสารารถในการยกน้ำหนักมันสำปะหลังจะเปลี่ยนไปด้วย ควรมีการทดสอบการทำงานในพื้นที่จริงเพื่อหาความสามารถในการทำงานเชิงพื้นที่ของอุปกรณ์ลำเลียงมันสำปะหลังภายหลังการขุด อุปกรณ์ลำเลียงมันสำปะหลังภายหลังการขุดยังต้องมีการปรับปรุงอีกหลายปัจจัย ควรมีศึกษาถึงจุดคุ้มทุนของอุปกรณ์ลำลียงมันสำปะหลังภายหลังการขุด

19 จบการนำเสนอ ขอขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt จัดทำโดย นายวิทยา หาญอาษา และ นายธวัช มุดไธสง อาจารย์ที่ปรึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google