งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ Array (บทที่ 5)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ Array (บทที่ 5)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ Array (บทที่ 5)
ใช้สำหรับ Turbo C++ Version 3.0

2 กล่าวนำ ประเภทข้อมูลในบทที่ผ่านมาเป็นข้อมูลแบบข้อมูลเดี่ยว
ตัวแปรหนึ่งตัวจะเก็บข้อมูลได้ค่าเดียวเท่านั้น ต้องการเก็บข้อมูลหลายค่าต้องสร้างตัวแปรหลายตัว ตัวแปรชนิดอาร์เรย์ (Array) เป็นตัวแปรที่เก็บข้อมูลเป็นกลุ่ม แต่จะต้องเป็นข้อมูลชนิดเดียวกันเท่านั้น

3 อาร์เรย์ในภาษาซี อาร์เรย์ประกอบด้วยข้อมูลหลายๆ ตัวรวมเป็นกลุ่ม
ข้อมูลแต่ล่ะตัวในกลุ่มเรียกว่า อิลีเมนต์ (element) หรือเซลล์ (Cell) การอ้างถึงข้อมูลแต่ล่ะเซลล์จะใช้อินเด็กซ์ (Index) เป็นตัวชี้

4 ตัวแปรอาร์เรย์แบบต่างๆ

5 ตัวอย่างเช่น ถ้ามีข้อมูลคะแนนของนักศึกษา 8 คน สามารถเก็บได้ดังนี้
Index X[0] X[1] X[2] X[3] X[4] X[5] X[6] X[7] คะแนน 18 20 35 84 21 45 65 74 ข้อมูลอยู่ในอาร์เรย์ชื่อ X แต่ล่ะเซลล์จะเก็บเลขจำนวนเต็ม การกำหนดค่าอินเด็กซ์ อยู่ในเครื่องหมาย square brackets ([]) ตัวอย่างเช่น X[3] หมายถึงการติดต่ออาร์เรย์ X เซลล์ที่ 3 X[2] อ้างเซลล์ที่ 2 มีค่าเท่ากับ 35 X[2] + X[3] อ้างเซลล์ที่ 2 บวกกับเซลล์ที่ 3 จะได้ เท่ากับ 119 Next page ->

6 การใช้ตัวแปรอาร์เรย์ในรูปแบบอื่น
X[1+3] อ้างเซลล์ที่ 4 มีค่าเท่ากับ 21 X[5]+1 นำเซลล์ที่ 5 มาบวกด้วย 1 จะได้เท่ากับ 46 ในรูปแบบอื่น X[5] = 45; ใส่ค่า 45 ในตัวแปรอาร์เรย์ X เซลล์ที่ 5 printf(“%d\n”,X[6]); พิมพ์ค่าในตัวแปรอาร์เรย์ X เซลล์ที่ 6

7 วิธีการประกาศตัวแปรอาร์เรย์แบบ 1 มิติ
จะต้องมีการกำหนดจำนวนของข้อมูลในเครื่องหมาย [ ] มีรูปแบบดังนี้ type var_name[size] หรือ ประเภทข้อมูล ชื่อตัวแปร[จำนวนสมาชิก] ตัวอย่างเช่น int myarray[20]; คำอธิบาย จะได้ตัวแปรชื่อ myarray ที่มีเซลล์เก็บข้อมูลจำนวนเต็มจำนวน 20 เซลล์

8 การใช้งานตัวแปรอาร์เรย์
ตำแหน่งอ้างข้อมูลจะเริ่มต้นที่ [0] ดังนั้น int myarray[20]; จะมีการอ้างตำแหน่งข้อมูลได้เป็น myarray[0] – myarray[19] การประกาศแบบข้างต้น เป็นการประกาศตัวแปรอาร์เรย์แบบหนึ่งมิติ ส่วนการสร้างอาร์เรย์แบบหลายมิติจากกล่าวภายหลัง

9 การประกาศตัวแปรอาร์เรย์แบบ 2 มิติ

10 การประกาศและกำหนดข้อมูลให้กับตัวแปรแบบอาร์เรย์

11 การเข้าถึงข้อมูลในตัวแปรอาร์เรย์

12 ตัวแปรอาร์เรย์กับข้อความ

13 ตัวอย่างการใช้งานตัวแปรอาร์เรย์

14 ตัวอย่างการใช้งานตัวแปรอาร์เรย์

15 ตัวอย่างการใช้งานตัวแปรอาร์เรย์

16 ตัวอย่างการส่งผ่านตัวแปรอาร์เรย์เข้าในฟังก์ชัน

17 ตัวอย่างการส่งผ่านตัวแปรอาร์เรย์สองมิติเข้าในฟังก์ชัน

18 Q & A End Chapter 7


ดาวน์โหลด ppt ข้อมูลชนิดอาร์เรย์ Array (บทที่ 5)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google