งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ทิศทางในอนาคตของอุตสาหกรรมไทย (ต่อ)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ทิศทางในอนาคตของอุตสาหกรรมไทย (ต่อ)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ทิศทางในอนาคตของอุตสาหกรรมไทย (ต่อ)

2 แนวโน้มระหว่างประเทศที่เกิดขึ้นใหม่
โลกาภิวัตน์ (Globalization): ทุนกระจายทั่วโลก ผลิต ชิ้นส่วนในประเทศต่างๆ การเปิดเสรี (Liberalization): การค้า การเงิน และ การเมือง

3 แนวโน้มระหว่างประเทศที่เกิดขึ้นใหม่
การรวมตัวทางเศรษฐกิจตามภูมิภาค (Regional integration) กฎเกณฑ์เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ และองค์การ การค้าโลก (WTO & rules on international trade)

4 แนวโน้มระหว่างประเทศที่เกิดขึ้นใหม่
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี (Changes in Technology)

5 เศรษฐกิจแบบใหม่ (New Economy):
เศรษฐกิจสารสนเทศ (Information Economy) เศรษฐกิจยุตดิจิตอล (Digital Economy) เศรษฐกิจแห่งความรู้ (Knowledge Economy) เศรษฐกิจเครือข่าย (Network Economy)

6 การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ:
การเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างการผลิต ความสำคัญของความรู้ ผู้บริโภคมีทางเลือกมากขึ้น การติดต่อผ่านเครือข่ายมีความสำคัญมากขึ้น

7 การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ:
การแข่งขันรุนแรงเข้มข้นมากขึ้น ทรัพย์สินที่จับต้องไม่ได้ (intangible assets หรือทรัพย์สิน ทางปัญญา) สำคัญมากกว่าทรัพย์สินที่จับต้องได้

8 การเปลี่ยนแปลงในสภาพแวดล้อมของอุตสาหกรรม:
- มีความเป็นสากล (Internationalization) - ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน (specialization) และการแบ่งขั้นตอนการผลิต - ผลิตภัณฑ์/กระบวนการผลิตเปลี่ยนได้เร็ว ทำให้วงจรชีวิตของผลิตภัณฑ์ (product-life cycle) สั้นลง

9 การเปลี่ยนแปลงในสภาพแวดล้อมของอุตสาหกรรม:
- เน้นการให้บริการ และการผลิตตามสั่งมากขึ้น ความสำคัญของทรัพย์สินที่จับต้องไม่ได้ (intangible assets ) การควบรวมธุรกิจ และพันธมิตรทางกลยุทธการค้า

10 การเปลี่ยนแปลงในสภาพแวดล้อมของอุตสาหกรรม:
กฎระเบียบใหม่ในการค้าระหว่างประเทศ การแข่งขันรุนแรงมากขึ้น โดยมีการเปลี่ยนเทคโนโลยีเป็นพลังขับเคลื่อน

11 ประเด็นท้าทายอุตสาหกรรมไทย
1. แนวโน้มการพัฒนาอุตสาหกรรม เน้นแรงงานเข้มข้น เน้นทักษะ เทคโนโลยี และความรู้ 2. ข้อกีดกันทางการค้า ข้อกำหนดด้านเทคนิค สังคมและสิ่งแวดล้อม ภาษีขาเข้าและโควต้า

12 ประเด็นท้าทายอุตสาหกรรมไทย มาตรฐานคุณภาพ บริการและ
3. รูปแบบการแข่งขัน มาตรฐานคุณภาพ บริการและ การตอบสนองต่อลูกค้า ราคา 4. การค้าระหว่างประเทศ การปกป้องคุ้มครอง การค้าเสรี

13 ประเด็นท้าทายอุตสาหกรรมไทย
5. จีนเป็นคู่แข่งสำคัญทั้งด้านการค้าและการลงทุน สมาชิก WTO จีน

14 จุดเน้นของนโยบายอุตสาหกรรมไทยในปัจจุบัน
1. การส่งเสริมผู้ประกอบการขนาดเล็กและกลาง(SMEs) 2. ส่งเสริมการลงทุนในอุตสาหกรรมเป้าหมาย 3. เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน 4. การพัฒนาผู้ประกอบการ

15 จุดเน้นของนโยบายอุตสาหกรรมไทยในปัจจุบัน
5. พัฒนาอุตสาหกรรมชนบทและกิจการชุมชน 6. เสริมความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน

16 กลยุทธ์ในการพัฒนากลุ่มอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมระดับโลก (Global industries) อุตสาหกรรมระดับภูมิภาค/ประเทศ (Regional and domestic industries) อุตสาหกรรมพื้นฐานและสำคัญด้านกลยุทธ์การพัฒนา (Basic and strategic industries)

17 อุตสาหกรรมระดับโลก (Global industries): การแข่งขันสูงในตลาดโลก ส่วนใหญ่ส่งออก เช่น อาหาร สิ่งทอ อิเล็กทรอนิกส์ ยานยนต์ เครื่องประดับ

18 อุตสาหกรรมระดับภูมิภาค/ประเทศ (Regional and domestic industries):
การแข่นขันปานกลาง ส่วนใหญ่ผลิตเพื่อป้อนตลาดในประเทศและภูมิภาค เช่น ผลิตภัณฑ์ไม้ เฟอร์นิเจอร์ กระดาษ ผลิตภัณฑ์ยาง พลาสติก กระเบื้อง ยา

19 อุตสาหกรรมพื้นฐานและสำคัญด้านกลยุทธ์การพัฒนา (Basic and strategic industries): มีความเชื่อมโยงไปข้างหน้า (forward linkages) สูง คือผลิตเพื่อเป็นวัตถุดิบชิ้นส่วนให้อุตสาหกรรมอื่น และสำคัญสำหรับกลยุทธ์การพัฒนา เช่น เหล็กและเหล็กกล้า ปิโตรเคมี และเครื่องจักร

20 แนวทางการพัฒนา สร้างความแตกต่างของผลิตภัณฑ์
พัฒนาอุตสาหกรรมสนับสนุนและให้ตั้งเป็นกลุ่ม (cluster) เร่งกระบวนการทำตามสั่ง ส่งเสริมวิจัยและพัฒนา การออกแบบ ปรับปรุงมาตรฐานต่างๆ สร้างยี่ห้อของไทย (Thai brand) Global Industry

21 แนวทางการพัฒนา เพิ่มมูลค่าเพิ่ม ขยายตลาด ปรับปรุงมาตรฐานและการออกแบบ
Regional & Domestic Industry เพิ่มมูลค่าเพิ่ม ขยายตลาด ปรับปรุงมาตรฐานและการออกแบบ ส่งเสริมการรับถ่ายทอดเทคโนโลยี ส่งเสริมและพัฒนา SMEs

22 แนวทางการพัฒนา พัฒนาการเชื่อมโยง (linkages) ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต
Basic & Strategic Industry พัฒนาการเชื่อมโยง (linkages) ปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต ขยายตลาด ลดกำลังการผลิตส่วนเกิน ส่งเสริมการควบรวมและการซื้อกิจการ (mergers and acquisition)

23 กลุ่มอุตสาหกรรมอาหาร
การสร้างช่องทางในตลาดโลก (Global Niche Creation) ยุครัฐบาลทักษิณ กลุ่มอุตสาหกรรมอาหาร (Food Industry Group) ครัวโลก (Kitchen of the World)

24 กลุ่มอุตสาหกรรมแฟชั่น เมืองแฟชั่นของเอเซีย
การสร้างช่องทางในตลาดโลก (Global Niche Creation) ยุครัฐบาลทักษิณ กลุ่มอุตสาหกรรมแฟชั่น (Fashion Industry Group) เมืองแฟชั่นของเอเซีย (Fashion Capital of Asia)

25 กลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์
การสร้างช่องทางในตลาดโลก (Global Niche Creation) ยุครัฐบาลทักษิณ กลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์ (Automotive Industry Group) ดีทรอยต์แห่งเอเซีย (Detroit of Asia)

26 High Quality and Safety
Cluster Development Standardization Cluster development in high potential products i.e. Rice, Chicken, Fruits, Cattle products Spices, Herbs, and Thai Restaurants Supporting the development of farm standard for target products, development of testing process Promoting ISO and TQM Kitchen of the World High Quality and Safety From Farm to Table R&D Branding Management Co-operation on R&D between government and private sector in raw materials for food products Joint effort of government and private sector on market penetration Identification of core agency in monitoring quality and standard of food products

27 Inbound Marketing Fashion 1. Fashion and Country Image Promotion
Outbound Marketing Marketing Channel Expansion Trade Representatives Fashion Exhibition Inbound Marketing Bangkok: Fashion Business Center Fashion Country Promotion Bangkok Fashion Week Fashion Bangkok: Fashion City Making Bangkok to be the Capital of Tropical Fashion of Asia 3. Industry Development 2. Design and Brand Development Fashion Expert Consultant Branding Ability Create fashion personnel Information and Publication Productivity Improvement

28 Detroit of Asia The Automotive Production Base of ASIA
R&D for Cluster Development Strengthening Marketing and Management Improving skill of vocational graduates and industrial engineers and others working in factories Establishing R&D center and transferring knowledge to suppliers Establishing strategic technical development and transfer partners with international agents and organizations. Encouraging Thai suppliers to create their own brand Establishing e-network and market for components and all parts in supply chain Detroit of Asia The Automotive Production Base of ASIA Second Largest Production Base of Motorcycle Logistic Development Market Expansion Developing transport system for export Improving customs procedure Developing product facilities Expanding motorcycle market into neighboring countries and South Asia by using both quality and price strategies


ดาวน์โหลด ppt ทิศทางในอนาคตของอุตสาหกรรมไทย (ต่อ)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google