ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
เลขฐานต่าง ๆ อ.มิ่งขวัญ กันจินะ
2
ตัวเลขที่ใช้ในระบบเลขฐาน
เลขฐาน 2 , 8 และ 16 การเขียนสัญลักษณ์ อ่านว่า หนึ่ง หนึ่ง ฐานสอง 358 อ่านว่า สาม ห้า ฐานแปด 7C16 อ่านว่า เจ็ด ซี ฐานสิบหก
3
ตัวเลขที่ใช้ในระบบเลขฐาน
ตาราง แสดงตัวเลขที่ใช้ในระบบเลขฐานต่าง ๆ ระบบเลขฐาน ชื่อภาษาอังกฤษ ตัวเลขที่ใช้ในระบบเลขฐานนั้น 2 4 6 8 10 16 Binary system Quantanary system Senary system Octanary system Denary system Hexadenary system 0 1 A B C D E F
4
การนับเลขฐานต่าง ๆ ฐาน 10 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 11 12 13 14 15 16 17 18
หลักการ เมื่อนับเพิ่มตัวเลขในฐานในหลักหนึ่งจนครบทุกตัวเลขแล้ว ค่าถัดไปในหลักเดียวกันจะวนไปเริ่มใช้เลข 0 อีกครั้ง และจะไปเพิ่มค่าในหลักถัดไป เป็นอย่างนี้ไปเรื่อย ๆ ทุกจำนวนจะมีเลข 0 นำหน้า แต่ไม่นิยมเขียนไว้ เมื่อครบทุกตัวเลขในหลักหน่วยแล้ว 9 จะวนไปที่เลข 0 ฐาน 10 1 2 3 4 5 6 7 8 9 ตัวเลขในหลักสิบจะเพิ่ม จากเดิม 1 เป็น 2 1 11 12 13 14 15 16 17 18 19 หลักสิบจะเพิ่มขึ้น จากเดิม 0 เป็น 1 เมื่อครบทุกตัวเลขในหลักหน่วยแล้ว 9 จะวนไปที่เลข 0 2 21 . . .
5
การนับเลขฐานต่าง ๆ ฐาน 2 ฐาน 10 : 1 2 3 4 5 6 7 8
1 2 3 4 5 6 7 8 ฐาน 2 : 1 1 11 1 101 110 111 1000 เมื่อครบทุกตัวเลขในหลักหน่วยแล้ว 1 จะวนไปที่เลข 0 เมื่อครบทุกตัวเลขในหลักหน่วยแล้ว 1 จะวนไปที่เลข 0 จะเพิ่มตัวเลขในหลักสิบ จากเดิม 0 เป็น 1 เมื่อครบทุกตัวเลขในหลักสิบแล้ว 1 จะวนไปที่เลข 0 จะเพิ่มตัวเลขในหลักร้อย จากเดิม 0 เป็น 1
6
การนับเลขฐานต่าง ๆ ฐาน 8 ฐาน 10 : 1 2 3 4 5 6 7 8
เมื่อครบทุกตัวเลขในหลักหน่วยแล้ว 7 จะวนไปที่เลข 0 ฐาน 10 : 1 2 3 4 5 6 7 8 ฐาน 8 : 1 2 3 4 5 6 7 1 เมื่อครบทุกตัวเลขในหลักหน่วยแล้ว 7 จะวนไปที่เลข 0 จะเพิ่มตัวเลขในหลักสิบ จากเดิม 1 เป็น 2 ฐาน 10 : 9 10 11 12 13 จะเพิ่มตัวเลขในหลักสิบ จากเดิม 0 เป็น 1 14 15 16 17 ฐาน 8 : 11 12 13 14 15 16 17 2 21
7
การนับเลขฐานต่าง ๆ ฐาน 16 ฐาน 10 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 จะเพิ่มตัวเลขในหลักสิบ จากเดิม 0 เป็น 1 เมื่อครบทุกตัวเลขในหลักหน่วยแล้ว F จะวนไปที่เลข 0 ฐาน 16 1 2 3 4 5 6 7 8 9 A B C D E F 1 11 12 13
8
ตัวเลขที่ใช้ในระบบเลขฐาน
ค่าของตัวเลขในฐานต่าง ๆ บอกได้ 2 สิ่ง คือ ค่าประจำตัวของแต่ละตัว ค่าหลักในตำแหน่งที่ตัวเลขนั้นปรากฏอยู่ (Position Notation) เช่น 62 6 มีค่าเท่ากับ 6 และมีค่าเป็นหลักสิบ 2 มีค่าเท่ากับ 2 และมีค่าเป็นหลักหน่วย
9
ตัวเลขที่ใช้ในระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานสิบ เช่น กระจายได้ดังนี้ 357.69 = = ( 3 102 ) + ( 5 101 ) + ( 7 100 ) + ( 6 10 – 1 ) + ( 9 )
10
ตัวเลขที่ใช้ในระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานสอง เช่น กระจายได้ดังนี้ = ( 1 22 ) + (0 21 ) + (0 20 ) + ( 0 2 – 1 ) + ( 1 2 -2 )
11
ตัวเลขที่ใช้ในระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานแปด เช่น กระจายได้ดังนี้ = (1 82 ) + (2 81 ) + (6 80 ) + ( 5 8 – 1 ) + ( 7 8 -2 )
12
ตัวเลขที่ใช้ในระบบเลขฐาน
ระบบเลขฐานสิบหก เช่น 8BC.F16 กระจายได้ดังนี้ 8BC.F16 = ( 8 162 ) + ( B 161 ) + ( C 160 ) + ( F 16 – 1 ) 1 1 12 15 10 = A , 11 = B , 12 = C , 13 = D , 14 = E , 15 = F
13
การเปลี่ยนเลขฐานของตัวเลขในระบบเลขฐานต่างๆ
การเปลี่ยนเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบ การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสิบ การเปลี่ยนเลขฐานสิบหกเป็นเลขฐานสิบ
14
การเปลี่ยนเลขฐานของตัวเลขในระบบเลขฐานต่างๆ
เช่น เปลี่ยนเป็นฐานสิบ วิธีทำ นำค่าของฐานคูณกับตัวเลขนั้น ๆ แล้วบวกกัน = ( 1 23 ) + (0 22 ) + ( 1 21 ) + ( 1 20) + (0 2 – 1 ) + ( 1 2 -2 ) = ( 1 23 ) + (0 22 ) + ( 1 21 ) + ( 1 20) + (0 ) + ( 1 )
15
การเปลี่ยนเลขฐานของตัวเลขในระบบเลขฐานต่างๆ
การเปลี่ยนเลขฐานสองเป็นเลขฐานสิบ = ( 1 23 ) + (0 22 ) + ( 1 21 ) + ( 1 20) + (0 ) + ( 1 ) = ( 1 8 ) + ( 0 4 ) + ( 1 2 ) + ( 1 1 ) + (0 0.5 ) + ( 1 0.25 ) = =
16
การเปลี่ยนเลขฐานของตัวเลขในระบบเลขฐานต่างๆ
การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสิบ เช่น เปลี่ยนเป็นฐานสิบ = (3 82 ) + (2 81 ) + (6 80 ) + ( 1 8 – 1 ) + ( 7 8 -2 ) = ( 3 82 ) + (2 81 ) + ( 6 80 ) + (1 ) + ( 7 )
17
การเปลี่ยนเลขฐานของตัวเลขในระบบเลขฐานต่างๆ
การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสิบ = ( 3 82 ) + (2 81 ) + ( 6 80 ) + (1 ) + ( 7 ) = (3 64 ) + (2 8) + (6 1 ) + ( 1 0.125) + ( 7 ) = =
18
การเปลี่ยนเลขฐานของตัวเลขในระบบเลขฐานต่างๆ
การเปลี่ยนเลขฐานสิบหกเป็นเลขฐานสิบ เช่น B เปลี่ยนเป็นฐานสิบ B = ( 11 162 ) + ( 1 161 ) + (8 160 ) + ( 5 16 – 1 ) = ( 11 162 ) + ( 1 161 ) + ( 8 160 ) + ( 5 )
19
การเปลี่ยนเลขฐานของตัวเลขในระบบเลขฐานต่างๆ
การเปลี่ยนเลขฐานแปดเป็นเลขฐานสิบ B = ( 11 162 ) + ( 1 161 ) + ( 8 160 ) + (5 ) = ( 11 256 ) + ( 1 16) + (8 1 ) + ( 5 ) = =
20
การเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นฐานอื่น ๆ
การเปลี่ยนตัวเลขหน้าจุดทศนิยม นำเลขฐานสิบเป็น ตัวตั้ง ตัวเลขฐานใหม่เป็น ตัวหาร หารสั้นจนได้ 0 เพื่อ หาเศษ เรียงเศษที่ได้จาก ล่างขึ้นบน
21
การเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นฐานอื่น ๆ
การเปลี่ยนตัวเลขหลังจุดทศนิยม นำเลขฐานสิบหลังจุดทศนิยมเป็น ตัวตั้ง ตัวเลขฐานใหม่เป็น ตัวคูณ คูณจนได้ 0 (หรือตามจำนวนทศนิยมที่กำหนด) เพื่อ หาจำนวนเหน้าทศนิยม เรียงจำนวนเต็มที่ได้จาก บนลงล่าง
22
การเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นฐานอื่น ๆ
ตัวอย่าง จงเปลี่ยน 24 เป็นเลขฐานสอง 2 เศษ 2 1 2 2 6 2 3 2 1 1 1 ดังนั้น 24 เปลี่ยนเป็นเลขฐานสองได้เท่ากับ
23
การเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นฐานอื่น ๆ
ตัวอย่าง จงเปลี่ยน เป็นเลขฐานสอง เลขหน้าทศนิยม เลขหลังทศนิยม 2 เศษ .75 2 5 1 2 คูณเฉพาะเลขที่อยู่หลังทศนิยม 2 2 1.5 1 2 2 1 1.0 1 ดังนั้น เปลี่ยนเป็นเลขฐานสองได้เท่ากับ
24
การเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นฐานอื่น ๆ
ตัวอย่าง จงเปลี่ยน เป็นเลขฐานแปด เลขหน้าทศนิยม เลขหลังทศนิยม 8 เศษ .25 8 2 1 8 2 2.0 ดังนั้น เปลี่ยนเป็นเลขฐานแปดได้เท่ากับ
25
การเปลี่ยนเลขฐานสิบเป็นฐานอื่น ๆ
ตัวอย่าง จงเปลี่ยน เป็นเลขฐานสิบหก เลขหน้าทศนิยม เลขหลังทศนิยม 16 เศษ .125 16 29 8 16 16 1 13 = D 2.00 1 ดังนั้น เปลี่ยนเป็นเลขฐานสิบหกได้เท่ากับ 1 D8.216
26
การเปลี่ยนเลขฐานใด ๆ ไปเป็นเลขฐานอื่น ๆ
การเปลี่ยนเลขฐานใด ๆ ไปเป็นเลขฐานอื่น ๆ วิธีทำ วิธีที่ 1 แปลงเป็นเลขฐานสิบ ฐานที่ต้องการ วิธีที่ 2 เปลี่ยนฐานสอง ฐาน 8 , ฐาน 16 แยกเลขฐานสอง โดยเริ่มจากจุดทศนิยม ไปทางซ้าย หรือ ทางขวา ฐาน 8 แยกเลขฐานสองครั้งละ 3 ตัว ฐาน 16 แยกเลขฐานสองครั้งละ 4 ตัว
27
การเปลี่ยนเลขฐานใด ๆ ไปเป็นเลขฐานอื่น ๆ
การเปลี่ยนเลขฐานใด ๆ ไปเป็นเลขฐานอื่น ๆ ตัวอย่าง จงเปลี่ยน เป็นเลขฐานแปด 4 2 1 4 2 1 4 2 1 4 2 1 ฐานสอง . 0 0 1 1 1 0 1 0 1 1 0 1 1 0 0 ฐานแปด . 1 6 5 5 4 ดังนั้น =
28
การเปลี่ยนเลขฐานใด ๆ ไปเป็นเลขฐานอื่น ๆ
การเปลี่ยนเลขฐานใด ๆ ไปเป็นเลขฐานอื่น ๆ ตัวอย่าง จงเปลี่ยน เป็นเลขฐานสิบหก ฐานสอง . ฐานสิบหก . 7 5 B ดังนั้น = 75.B 16
29
การเปลี่ยนเลขฐานใด ๆ ไปเป็นเลขฐานอื่น ๆ
การเปลี่ยนเลขฐานใด ๆ ไปเป็นเลขฐานอื่น ๆ ตัวอย่าง จงเปลี่ยน เป็นเลขฐานสอง 4 2 1 4 2 1 4 2 1 4 2 1 ฐานแปด . 1 6 5 5 4 ฐานสอง . 0 0 1 1 1 0 1 0 1 1 0 1 1 0 0 ดังนั้น =
30
การเปลี่ยนเลขฐานใด ๆ ไปเป็นเลขฐานอื่น ๆ
การเปลี่ยนเลขฐานใด ๆ ไปเป็นเลขฐานอื่น ๆ ตัวอย่าง จงเปลี่ยน 75.B16 เป็นเลขฐานสอง ฐานสิบหก . 7 5 B ฐานสอง . ดังนั้น B16 =
31
การคำนวณเลขฐาน คำนวณได้เฉพาะเลขฐานเดียวกัน การบวกเลขฐาน
บวกกันแล้วน้อยกว่าฐาน ใส่ค่าที่บวกได้ บวกกันแล้วมากกว่าฐาน ใส่ค่าที่เกินจาก ฐาน ทด
32
การคำนวณเลขฐาน ตัวอย่าง จงหาค่าของ 1 1 1 1 = 11 ใส่ 1 ทด 1 1 + 1 = 10 ใส่ 0 ทด 1 1 + 1 = 10 ใส่ 10 1 + 1 = 10 ใส่ 0 ทด 1 1 + 0 = 1 1 + 1 = 10 ใส่ 0 ทด 1 + 10 1 . 1 ดังนั้น =
33
การคำนวณเลขฐาน ตัวอย่าง จงหาค่าของ 1 1 = 12 เกิน 8 ไป 4 ใส่ 4 ทด 1 6 + 4= 10 เกิน 8 ไป 2 ใส่ 2 ทด 1 = 7 2 + 0 = 2 + 1 7 4 7 4 2 . 2 ดังนั้น =
34
การคำนวณเลขฐาน 4 A 0 3 C D 8 6 D ตัวอย่าง จงหาค่าของ 4A016 + 3CD16 1
เกิน 16 ไป 6 ใส่ 6 ทด 1 + = 8 0 + D = D 3 C D 8 6 D ดังนั้น 4A CD16 = 86D16
35
การคำนวณเลขฐาน การลบเลขฐาน ถ้าตัวตั้งมากกว่าตัวลบ ใส่ผลลัพธ์ได้เลย
ถ้าตัวตั้งมากกว่าตัวลบ ใส่ผลลัพธ์ได้เลย ตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบจะต้องยืม ส่วนที่ยืมมา นั้นจะมีค่าเท่ากับฐาน
36
ตัวหน้าสุดที่ถูกยืม เหลือ 0
การคำนวณเลขฐาน ถูกยืมไปอีกจึงเหลือ 1 ตัวถัดมายืม กลายป็น 2 ตัวอย่าง จงหาค่าของ ตัวหน้าสุดที่ถูกยืม เหลือ 0 2 1 2 2 2 0 ลบ 1 ไม่ได้ ยืมตัวหน้าไม่มี ยืมตัวหน้าสุดอีกที 0 ลบ 1 ไม่ได้ ยืมตัวหน้ามาเป็น 2 2 – 1 = 1 0 ลบ 1 ไม่ได้ ยืมตัวหน้ามาเป็น 2 2 – 1 = 1 1 - 0 = 1 - 1 – 1 = 0 1 1 . 1 1 ตัวที่ถูกยืมไป 1 เหลือ 0 ตัวที่ถูกยืมไป 1 เหลือ 0 ยืมได้ 2 2 – 1 = 1 ดังนั้น =
37
การคำนวณเลขฐาน ตัวอย่าง จงหาค่าของ D7.A16 - 7C.916 12 C 23 7 ลบ C ( 12) ไม่ได้ ยืมตัวหน้ามาเป็น 7+16=23 D 7 . A A - 9 = 10 – 9 = 1 - D ถูกยืมไป 1 เหลือ C 7 C .9 C = 12 5 B . 1 23 – 12 = 11 = B 12 – 7 = 5 ดังนั้น D7.A16 - 7C.916 = 5B.1 16
38
การคำนวณเลขฐาน การคูณเลขฐานต่าง ๆ ตั้งหลักของตัวตั้งและตัวคูณให้ตรงกัน
คูณเช่นเดียวกับระบบฐานสิบ ใช้ตารางช่วย
39
การคำนวณเลขฐาน ตารางคูณเลขฐานสอง 1
40
ตารางคูณเลขฐานแปด 1 2 3 4 5 6 7 11 10 14 20 12 17 24 31 23 30 36 44 16 25 34 43 52 61
41
ตารางคูณเลขฐานสิบหก ?? การบ้าน !!
42
การคำนวณเลขฐาน ตัวอย่าง จงหาค่าของ 1112 1 1 = 1 1 1 1 1 1 1 1 = 11 ใส่ 1 ทด 1 = 11 ใส่ 1 ทด 1 1 + 1 = 10 ใส่ 0 ทด 1 1 + 1 = 10 ใส่ 0 ทด 1 1 + 1 = 10 ใส่ 10 1 1 = 1 1 1 1 + 1 0= 0 + 1 1 = 1 10 1 1 1 ดังนั้น =
43
การคำนวณเลขฐาน ตัวอย่าง จงหาค่าของ 468 328 2 1 4 6 8 34 = 14 บวกที่ทด 2 14+2 = 16 ใส่ 16 24 = 10 บวกที่ทด 1 10+1 = 11 ใส่ 11 3 2 8 36 = 22 ใส่ 2 ทด 2 26 = 14 ใส่ 4 ทด 1 1 1 4 + 1 6 2 1 7 3 4 ดังนั้น 468 328 =
44
การคำนวณเลขฐาน ตัวอย่าง จงหาค่าของ 3B916 2A16 7 1 5 1 3 B 9 16 23 = 6 บวกที่ทด 1 6+1 = 7 ใส่ 7 A3 = 1E บวกที่ทด 7 1E+7 = 25 ใส่ 25 2B = 16 บวกที่ทด 1 16+1 = 17 ใส่ 7 ทด 1 AB = 6E บวกที่ทด 5 6E+5 = 73 ใส่ 3 ทด 7 29 = 12 ใส่ 2 ทด 1 2 A 16 A9 = 5A ใส่ A ทด 5 2 5 3 A + 7 7 2 9 C 5 A ดังนั้น 3B916 2A16= 9C5A 16
45
การคำนวณเลขฐาน การหาร ใช้วิธีหารยาวธรรมดา ใช้ตารางช่วย
เปลี่ยนให้เป็นฐานสิบก่อน หารยาวใน ฐานสิบ แล้วเปลี่ยนฐานกลับคืน
46
การคำนวณเลขฐาน 1 1 . 1 ตัวอย่าง จงหาค่าของ 1000012 1102 1 1 0 - 1
ตัวอย่าง จงหาค่าของ 1102 1 1 . 1 1 1 0 - 1 1 1 0 1 - 1 1 1 1 0 - ดังนั้น =
47
การคำนวณเลขฐาน 4 2 . 6 6 6 … ตัวอย่าง จงหาค่าของ 3648 78 - 3 4 2 4 -
ตัวอย่าง จงหาค่าของ 78 4 2 . 6 6 6 … - 3 4 2 4 - 1 6 6 - 5 2 6 ดังนั้น 78 =
48
End . . .
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.