ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
การเขียนหุ่นนิ่งทั่วไป
2
เรื่องการเขียนหุ่นนิ่งทั่วไป
ศ การเขียนภาพวาดเส้น โดย นายสมพงษ์ ถาวรโชติวงศ์ โรงเรียนเบญจมราชาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์
3
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการ และประยุกต์การใช้ทักษะการเขียน ภาพรูปทรงทั่วไปได้เหมาะสมตามหลักการ
4
การเขียนหุ่นนิ่งทั่วไป
การเขียนภาพที่ดี ควรวาดให้ได้ขนาดเท่าวัตถุจริง ในกรณีที่หุ่นนิ่งใช้เป็นแบบมีขนาดใหญ่มากกว่ากระดาษที่เขียน ควรมีการย่อขนาดให้เล็กลงโดยยึดหลักการจัดหน้ากระดาษ ควรย่อให้มีขนาดเล็กลงประมาณ เปอร์เซ็นต์ และคอยเช็คดูเรื่องการเขียนให้ตั้งตรงบนกระดาษ โดยยึดแนวขนานด้านขอบของกระดาษเป็นเกณฑ์ โดยเริ่มเช็คตั้งแต่การขึ้นโครงสร้าง ขนาดสัดส่วนของรูป
5
1. ผู้เรียนควรทำความเข้าใจกับหุ่นนิ่งที่เป็นแบบในการแบ่งสัดส่วนความสูง และความกว้าง ให้ถูกต้อง
6
2. เริ่มจากการขีดเส้นแกนกลางให้มีขนาดใกล้เคียงหรือเท่าของจริง
7
3. วัดขนาดด้านสูงและด้านกว้างโดยประมาณด้วยสายตาสำหรับผู้เริ่มต้น แล้วสร้างเป็นรูปร่างเรขาคณิต สำหรับผู้ที่มีพื้นฐานดีอาจวัดโดยการใช้ดินสอวัด
8
4. การแบ่งสัดส่วนลักษณะต่างๆ ของหุ่น โดยใช้เส้นโครงสร้างเรขาคณิตขีดน้ำหนักเบา ปากแจกัน คอแจกัน ไหล่แจ กัน ตัวแจกัน ฐานหรือก้นแจกัน
9
การแบ่งสัดส่วน ปากแจกัน คอแจกัน ไหล่แจกัน ตัวแจกัน ฐานหรือก้นแจกัน
10
5. การเขียนสัดส่วนและเค้าโครงสร้างของหุ่น โดยวัดและกะขนาดความกว้างของส่วนต่างๆให้เห็นเป็นรูปร่างเรขาคณิต
11
6. การเขียนสัดส่วนโครงสร้างภายในแสดงมิติด้านหลังและความโค้งของส่วนต่างๆ
12
7. การเขียนสัดส่วนตามแบบจริงของหุ่น โดยเพิ่มความโค้ง ความเว้าต่างๆ ตามขนาดสัดส่วนของหุ่นและลงเส้นรูปเน้นขึ้น
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.