ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
รายงานการวิจัยในชั้นเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้
สุขศึกษาและพลศึกษา ระดับประถมศึกษาปีที่ 2 ปีการศึกษา 2546
2
เรื่อง...พฤติกรรมการรับประทานผักของ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนวัฒนาวิทยาลัย โดยวิธีการเสริมแรงเชิงบวก
3
ความเป็นมา จากประสบการณ์ในการสอนวิชาสุขศึกษา และการเป็นครูที่ปรึกษา
จากประสบการณ์ในการสอนวิชาสุขศึกษา และการเป็นครูที่ปรึกษา นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ซึ่งได้ดูแลนักเรียนในการรับประทานอาหาร กลางวันของนักเรียนพบว่า นักเรียนหลายคนไม่ชอบรับประทานผัก ดังนั้นเพื่อต้องการให้นักเรียนได้เปลี่ยนพฤติกรรมมารับประทานผัก ผู้วิจัยจึงได้ทำวิจัยเรื่องนี้ขึ้นมา
4
วัตถุประสงค์ในงานวิจัย
เพื่อให้นักเรียนเห็นประโยชน์ของผักและรับประทานผักมากขึ้น เพื่อจะได้สุขภาพและร่างกายที่แข็งแรง
5
สมมติฐาน นักเรียนที่ได้รับความรู้เกี่ยวกับคุณค่าและประโยชน์ของผัก เปลี่ยนพฤติกรรมมารับประทานผักมากขึ้น
6
นักเรียนมีทัศนคติที่ดีในการรับประทานผัก
ผลที่คาดว่าจะได้รับ นักเรียนมีทัศนคติที่ดีในการรับประทานผัก นักเรียนรับประทานผักมากขึ้น
7
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 จำนวน 48 คน
ขอบเขตการวิจัย กลุ่มเป้าหมาย นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 จำนวน 48 คน
8
ตัวแปรอิสระ การเสริมแรงเชิงบวก
9
พฤติกรรมการรับประทานผัก
ตัวแปรตาม พฤติกรรมการรับประทานผัก
10
(ช่วงพักกลางวันของทุกวัน)
ระยะเวลา 5 สัปดาห์ (ช่วงพักกลางวันของทุกวัน)
11
การเสริมแรงทางบวก หมายถึง
การเสริมแรงทางบวก หมายถึง การให้ความรู้เกี่ยวกับผัก,ประโยชน์ของผักและการให้แรงจูงใจ นิยามศัพท์ พฤติกรรมการรับประทานผัก หมายถึง การมีทัศนคติที่ดีในการรับประทานผักของนักเรียน
12
วิธีการดำเนินการวิจัย
ขั้นเตรียม * ศึกษาปัญหาของนักเรียน * เตรียมเอกสาร รูปภาพที่เกี่ยว ข้องกับการวิจัย
13
* นำแบบสอบถามให้ผู้เชี่ยว ชาญตรวจสอบ
ขั้นสร้าง * สร้างแบบสอบถาม * นำแบบสอบถามให้ผู้เชี่ยว ชาญตรวจสอบ
14
ขั้นทดลอง 1. นำแบบสอบถามไปใช้กับกลุ่มเป้าหมาย ( ก่อนได้รับความรู้ ), ( เก็บรวบรวมข้อมูลครั้งที่ 1) 2. ให้ความรู้เกี่ยวกับคุณค่าและประโยชน์ของผักพร้อมกับให้นักเรียนศึกษาเพิ่มเติมจากป้ายนิเทศและทำกิจกรรมที่ครูกำหนดให้ 3. นำแบบสอบถามไปใช้กับกลุ่มเป้าหมาย ( หลังจากได้รับความรู้ ), ( เก็บรวบรวมข้อมูลครั้งที่ 2 )
15
ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติร้อยละในการวิเคราะห์ข้อมูลโดย ผู้วิจัยได้ให้นักเรียนกลุ่มเป้าหมายทำแบบสอบถาม 2 ครั้ง ( ครั้งที่ 1 ก่อนได้รับความรู้ส่วนครั้ง ที่ 2 หลังจากได้รับความรู้ ) จากนั้นนำข้อมูลมาเปรียบเทียบกัน
16
ตัวอย่าง แบบสอบถามเรื่อง การรับประทานผัก
ตัวอย่าง แบบสอบถามเรื่อง การรับประทานผัก ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย / ให้ตรงกับความเป็นจริงในการรับประทานผักแต่ละชนิดดังต่อไปนี้
17
ตารางเปรียบเทียบการรับประทานผัก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1
ก่อนได้รับความรู้
18
แผนภูมิการรับประทานผัก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1
แผนภูมิการรับประทานผัก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 ก่อนได้รับความรู้ 30.42 23.55 17.92 14.80
19
ตารางเปรียบเทียบการรับประทานผัก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1
หลังได้รับความรู้
20
แผนภูมิการรับประทานผัก ของนักเรียชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1
แผนภูมิการรับประทานผัก ของนักเรียชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1 หลังได้รับความรู้ 55.21 26.25 8.33 8.54
21
ตารางเปรียบเทียบการรับประทานผัก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1
22
แผนภูมิพฤติกรรมการรับประทานผัก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2/1
23
* นักเรียนชอบรับประทานผักคิดเป็นร้อยละ 17.92
ผลการวิจัย ก่อนได้รับความรู้ * นักเรียนชอบรับประทานผักคิดเป็นร้อยละ * ชอบรับประทานผักปานกลางคิดเป็นร้อยละ * ชอบรับประทานผักน้อย คิดเป็นร้อยละ * ชอบรับประทานผักน้อย คิดเป็นร้อยละ
24
* นักเรียนชอบรับประทานผักคิดเป็นร้อยละ 55.21
หลังได้รับความรู้ * นักเรียนชอบรับประทานผักคิดเป็นร้อยละ 55.21 * ชอบรับประทานผักปานกลางคิดเป็นร้อยละ 26.25 * ชอบรับประทานผักน้อยคิดเป็นร้อยละ 8.33 * ไม่ชอบรับประทานผักคิดเป็นร้อยละ 8.54
25
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับจากการวิจัย
…ทำให้นักเรียนเห็นคุณค่าและประโยชน์ของผักและหันมารับประทานผักมากขึ้น... ข้อเสนอแนะ การที่นักเรียนรู้จักและเห็นคุณค่าของการรับประทานผักนั้นหากครูจะเป็นผู้ดูแลแต่เพียงฝ่ายเดียวก็ไม่ประสบผลสำเร็จได้จึงควรที่จะได้รับความร่วมมือจากผู้ปกครองทางบ้านด้วยเพื่อ จะได้ช่วยเสริมแรงกระตุ้นให้นักเรียนเห็นคุณประโยชน์ของ การรับประทานอาหารประเภทผักอีกด้วย
26
ประกาศคุณูปการ งานวิจัยในชั้นเรียนนี้สำเร็จได้ด้วยความกรุณาอย่างสูงจากท่านผู้บริหารโรงเรียน ผู้ช่วยผู้บริหารทุกท่าน หัวหน้างานวิชาการระดับประถม และอาจารย์รัชดาวรรณ กระสินธุ์ ที่ได้ให้ความกรุณาให้ความแนะนำช่วยเหลือปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ จนกระทั่ง ผู้วิจัยสามารถดำเนินงานวิจัยจนสำเร็จไปได้ด้วยดี ผู้วิจัยขอ กราบขอบพระคุณท่านเป็นอย่างสูงไว้ ณ ที่นี้ คุณครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
27
ประกาศคุณูประการ 1. อาจารย์วิภาวดี ชีวะผลาบูรณ์ 2. อาจารย์กุสุมา ทองช่วง 3. อาจารย์สมคิด อาจมังกร 4. อาจารย์สุมาลี อัศวเรืองมรกต 5. อาจารย์สุพัตรา รื่นหาญ 6. อาจารย์รัชดาวรรณ กระสินธุ์
28
7. อาจารย์เสงี่ยม แสงโชติ
8. อาจารย์จุฑามาศ สินสกุล 9. อาจารย์นงนุช ชาญวิฑิตกุล 10. อาจารย์สุทธิ์สินี ยิ้นซ้อน 11. อาจารย์จีราวรรณ์ สิทธิภักดี 12. อาจารย์ทิพาพันธ์ บุญสนอง 13. อาจารย์ทิพยวรรณ สวัสดิวงศ์ 14. อาจารย์ทัศนีย์ ชั่งใจ 15.คณะครูกลุ่มสุขศึกษาและพลศึกษา
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.