ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 13 สถิติศาสตร์ ไม่อิงพารามิเตอร์เบื้องต้น
2
ตอนที่ 13.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถิติศาสตร์ ไม่อิงพารามิเตอร์
1.3.2 การทดสอบสมมุติฐานโดยใช้สถิติ ศาสตร์ไม่อิงพารามิเตอร์กรณีกลุ่ม ตัวอย่างกลุ่มเดียว
3
ตอนที่ 1.3.3 การทดสอบสมมุติฐานโดยใช้สถิติ
การทดสอบสมมุติฐานโดยใช้สถิติ ศาสตร์ไม่อิงพารามิเตอร์กรณีกลุ่ม ตัวอย่างสองกลุ่มที่สัมพันธ์กัน 13.4 การทดสอบสมติฐานโดยใช้สถิติ ศาสตร์ไม่อิงพารามิเตอร์ในกรณีกลุ่ม ตัวอย่างสองกลุ่มที่เป็นอิสระกัน
4
ตอนที่ 13.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ สถิติศาสตร์ไม่อิงพารามิเตอร์
5
สถิติศาสตร์ไม่อิงพารามิเตอร์ คือ
สถิติศาสตร์ที่อิสระจากการแจก แจงเป็นการทดสอบทางสถิติที่ไม่อยู่ ภายใต้ข้อตกลงเบื้องต้นเกี่ยวกับการ แจกแจงของประชากร
6
ข้อดี 1. ไม่ต้องระบุว่าประชากรมีการแจก แจงแบบใด
2. กลุ่มตัวอย่างมีขนาดเล็ก 3. มีข้อตกลงเบื้องต้นน้อยกว่าสถิติศาสตร์ อิงพารามิเตอร์
7
ข้อดี 4. เหมาะกับข้อมูลที่เก็บจากประชากร หลายกลุ่มที่แตกต่างกัน
5. ใช้ได้กับข้อมูลที่วัดในมาตรานาม บัญญัติและมาตราเรียงลำดับ
8
ข้อจำกัด 1. ถ้าการแจกแจงของประชากรเป็นไป
ตามข้อตกลงเบื้องต้นที่จะใช้สถิติศาสตร์ อิงพารามิเตอร์ในกรณีที่สมมุติฐานว่า เป็น เท็จ สถิติศาสตร์ไม่อิงพารามิเตอร์ จะมี ความไวในการปฏิเสธน้อยกว่าสถิติศาสตร์ อิงพารามิเตอร์
9
ข้อจำกัด การทดสอบโดยใช้สถิติศาสตร์ไม่อิงพารา
2. ถ้าข้อมูลเป็นไปตามข้อตกลงเบื้องต้นของสถิติศาสตร์อิงพารามิเตอร์ การทดสอบโดยใช้สถิติศาสตร์ไม่อิงพารา มิเตอร์จะมีประสิทธิภาพน้อยกว่า
10
1. การทดสอบสมมุติฐานโดยใช้สถิติ
ศาสตร์ไม่อิงพารามิเตอร์กรณีกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มเดียว 1.1 การทดสอบไคสแควร์ ตัวอย่าง สภากาชาดไทยรายงานว่า กลุ่ม เลือดของคนไทย A B AB และ O คิด เป็นร้อยละ และ จาก
11
การสำรวจผู้มาบริจาคโลหิตจำนวน 80
คน พบว่ามีกลุ่มเลือด A B AB และ O จำนวน และ 32 ตามลำดับ อยากทราบว่าผลสำรวจสอดคล้องกับ รายงานของสภากาชาดไทยหรือไม่ที่ ระดับนัยสำคัญ 0.05
12
วิธีทำ 1. กำหนดสมมุติฐานทางสถิติ H0: กลุ่มเลือดของคนไทย A B AB
และ O คิดเป็นร้อยละ และ 45 ตามลำดับ
13
วิธีทำ H1: กลุ่มเลือดของคนไทย A B AB และ O อย่างน้อยหนึ่งกลุ่มไม่
เป็นไปตามที่รายงาน
14
วิธีทำ 2. เลือกสถิติทดสอบและตรวจสอบข้อ ตกลงเบื้องตน เลือก
4 i = 1 = (Oi – Ei)2 Ei และ d.f. = 4-1 = 3
15
3. กำหนดระดับนัยสำคัญ หาค่าวิกฤต
และบริเวณวิกฤต = 0.05 หาค่าวิกฤตและบริเวณวิกฤต เปิดตารางที่ 5 หน้า = d.f. = 3
16
v 1 2 3 4 5 . 30 ตารางที่ 5 หน้า 323 7.815 พ.ท.ใต้โค้งทางขวา พ.ท.ใต้โค้งทางซ้าย
17
ตาราง บริเวณวิกฤต 0.05 2 =
18
4. คำนวณค่าสถิติทดสอบจากข้อมูลกลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มเลือด ความถี่ที่สังเกตได้ (O) ความถี่ที่ คาดหวัง (E) O-E (O-E)2 E A 32 0.40x80=32 B 10 0.10x80=8 2 4 0.5 AB 6 0.05x80=4 1 0.45x80=36 -4 16 0.44 80 1.94 2 คำนวณ
19
5. สรุปผลค่า ที่คำนวณได้ไม่อยู่ ในบริเวณวิกฤต จึงไม่สามารถปฏิเสธ
5. สรุปผลค่า ที่คำนวณได้ไม่อยู่ ในบริเวณวิกฤต จึงไม่สามารถปฏิเสธ สมมุติฐานว่างได้ดังนี้ สรุป ได้ว่ากลุ่มเลือดของคนไทยสอดคล้อง กับรายงานของสภากาชาดไทย 2
20
คำนวณ ตาราง บริเวณวิกฤต 0.05 2 = 1.94 =
21
การทดสอบเครื่องหมาย เป็นการใช้เครื่องหมายบวก (+) และลบ(-) แทนความแตกต่างของข้อมูลทีละคู่ แล้ววิเคราะห์ความถี่ของเครื่องหมายบวกและลบนั้นว่ามีจำนวนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญหรือไม่
22
ตัวอย่าง ผู้จัดการอบรมต้องการทราบว่าความ รู้หลังอบรมของผู้เข้ารับการอบรมจะเพิ่ม ขึ้นหรือไม่ จึงสุ่มตัวอย่างผู้เข้าอบรมมา 8 คน แล้ววัดความรู้ด้วยข้อสอบฉบับหนึ่ง ก่อนและหลังอบรมได้ผลดังตารางทั้งนี้กำหนดระดับนัยสำคัญเท่ากับ 0.05
23
วิธีทำ Ho : ความรู้ก่อนและหลังอบรมไม่ แตกต่างกัน
24
คนที่ ก่อนอบรม หลังอบรม เครื่องหมาย 1 14 36 - 2 18 31 3 20 19 + 4 28
48 5 10 6 34 49 7 8 24 29
25
จากตารางมีเครื่องหมายบวก 1 เครื่อง
หมาย เครื่องหมายลบ 6 เครื่องหมายไม่มีเครื่องหมาย 1 เครื่องหมาย ดังนั้น N=7 และ x =1 เปิดตารางที่ 8 หน้า 329 ที่ N=7 และ x=1 จะได้ค่าความน่าจะเป็นเท่ากับ 0.062 ซึ่งมากกว่าค่าระดับนัยสำคัญ 0.05 ดังนั้นจึงยอมรับสมมุติฐานว่าง
26
สรุปผล คะแนนก่อนและหลังอบรมไม่ ต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
27
N 4 5 6 7 8 . 35 062 ตารางที่ 8 หน้า 329
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.