ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
(Some Extension of Limit Concept)
ส่วนขยายแนวคิดลิมิต (Some Extension of Limit Concept)
2
บทนิยาม 4.3.1 ให้ f : D , x0 เป็นจุดลิมิตของ
D( x0, ) = { xD | x > x0 } ฟังก์ชัน f จะเรียกว่า มีลิมิตขวา (right-hand limit) ที่ x0 เท่ากับ L ก็ต่อเมื่อสำหรับ > 0 จะมี > 0 ถ้า 0 < x – x0 < , xD ทำให้ | f(x) – L | < และเขียนแทนด้วย f(x) = L อ่านว่า ลิมิตของ f เมื่อ x เข้าใกล้ x0 ทางขวาเท่ากับ L
3
บทนิยาม ให้ f : D , x0 เป็นจุดลิมิตของ D( –, x0 ) = {xD | x < x0} ฟังก์ชัน f จะเรียกว่า มีลิมิตซ้าย (left-hand limit) ที่ x0 เท่ากับ L ก็ต่อเมื่อ สำหรับ > 0 จะมี > 0 ถ้า 0 < x0 – x < , xD ทำให้ | f(x) – L | < และเขียนแทนด้วย f(x) = L อ่านว่า ลิมิตของ f เมื่อ x เข้าใกล้ x0 ทางซ้ายเท่ากับ L
4
ทฤษฎีบท ให้ f : D , x0 เป็นจุดลิมิตของ D( x0, ) แล้ว f(x) = L ก็ต่อเมื่อ สำหรับลำดับ xn ใดๆที่ลู่เข้าสู่ x0 ที่ xnD และ xn > x0 ทุก n แล้วลำดับ ลู่เข้าสู่ L การพิสูจน์ สามารถทำได้ในทำนองเดียวกับ ทฤษฎีบท
5
ทฤษฎีบท 4.3.4 ให้ f : D , x0 เป็นจุดลิมิตของ
D( x0, ) และ D( –, x0 ) แล้ว f(x) = L ก็ต่อเมื่อ f(x) = L = f(x) การพิสูจน์ ( ) ให้ f(x) = L สำหรับ > 0 จะมี > 0 ที่ 0 < | x – x0 | < ทำให้ | f(x) – L | < ดังนั้น f(x) = L = f(x)
6
( ) ให้ > 0 เนื่องจาก f(x) = L
จะมี 1 > 0 ที่ 0 < x – x0 < 1 และ xD ทำให้ | f(x) – L | < เนื่องจาก f(x) = L จะมี 2 > 0 ที่ 0 < x0 – x < 2 และ xD เลือก = min { 1, 2 } จะได้ว่า ถ้า 0 < | x – x0 | < ทำให้ | f(x) – L | < นั่นคือ f(x) = L
7
ลิมิตอนันต์ (Infinite Limits)
กำหนด f(x) = เมื่อ x 0 ดังรูป ฟังก์ชัน f ไม่มีขอบเขตบนย่านของจุด 0 ฟังก์ชัน f ย่อมไม่สอดคล้องกับนิยาม ทำให้ f ไม่มีลิมิตที่ 0 Y X
8
ในที่นี้เพื่อความสะดวกจะใช้สัญลักษณ์ (+ ) หรือ – แทนค่าที่ฟังก์ชันไม่มีขอบเขต แต่ต้องคำนึงเสมอว่า และ – ไม่เป็นจำนวนจริง
9
บทนิยาม 4.3.5 ให้ f : D , x0 เป็นจุดลิมิตของ D
1) จะกล่าวว่า f มีค่าเข้าใกล้ เมื่อ x มีค่าเข้าใกล้ x0 และเขียนแทนด้วย f(x) = ก็ต่อเมื่อ สำหรับทุกๆ > 0 จะมี > 0 ซึ่ง ถ้า 0 < | x – x0 | < และ xD แล้ว f(x) > 2) จะกล่าวว่า f มีค่าเข้าใกล้ – เมื่อ x มีค่าเข้าใกล้ x0 และเขียนแทนด้วย f(x) = – ก็ต่อเมื่อ สำหรับทุกๆ > 0 จะมี > 0 ซึ่ง ถ้า 0 < | x – x0 | < และ xD แล้ว f(x) < –
10
ทฤษฎีบท 4.3.6 ให้ f, g : D , x0 เป็นจุดลิมิตของ D และ f(x) g(x) สำหรับทุกๆ xD เมื่อ x x0
(2) ถ้า g(x) = - แล้ว f(x) = -
11
การพิสูจน์ (1) กำหนด f(x) = ให้ > 0 จะมี > 0 ซึ่ง ถ้า 0 < | x – x0 | < , xD ทำให้ f(x) > เนื่องจาก f(x) g(x) ทุก xD เมื่อ x x0 ดังนั้น ถ้า 0 < | x – x0 | < , xD ทำให้ g(x) > นั่นคือ g(x) = (2) พิสูจน์เป็นแบบฝึกหัด
12
บทนิยาม ให้ f : D (1) x0 เป็นจุดลิมิตของ D( x0, ) = { xD | x > x0 } จะเรียก f เข้าใกล้ (–) เมื่อ x x0+ และเขียนแทนด้วย f(x) = [ f(x) = – ] ก็ต่อเมื่อสำหรับ > 0 จะมี > 0 ซึ่ง ถ้า 0 < x – x0 < และ xD แล้ว f(x) > [ f(x) < – ]
13
x0 เป็นจุดลิมิตของ D( –, x0 ) = { xD | x < x0 } จะเรียก f เข้าใกล้ (–) เมื่อ x x0– และเขียนแทนด้วย f(x) = [ f(x) = – ] ก็ต่อเมื่อสำหรับ > 0 จะมี > 0 ซึ่ง ถ้า 0 < x0 – x < และ xD แล้ว f(x) > [ f(x) < – ]
14
บทนิยาม ให้ f : D (1) ให้ ( a, ) D จะเรียก L ว่าเป็น ลิมิตของ f เมื่อ x เข้าใกล้ และเขียนแทนด้วย f(x) = L ก็ต่อเมื่อ สำหรับ > 0 จะมี k > a ซึ่งถ้า x > k ทำให้ | f(x) – L | < (2) ให้ (–, b ) D จะเรียก L ว่าเป็น ลิมิตของ f เมื่อ x เข้าใกล้ – และเขียนแทนด้วย f(x) = L ก็ต่อเมื่อ สำหรับ > 0 จะมี k < b ซึ่งถ้า x < k ทำให้ | f(x) – L | <
15
บทนิยาม ให้ f : D (1) ให้ ( a, ) D , a จะเรียกว่า f เข้าใกล้ (–) เมื่อ x เขียนแทนด้วย f(x) = [ f(x) = – ] ก็ต่อเมื่อ > 0 จะมี k > a ซึ่งถ้า x > k แล้ว f(x) > [ f(x) < – ]
16
ให้ (–, b ) D , b จะเรียกว่า f เข้าใกล้ (–) เมื่อ x–
เขียนแทนด้วย f(x) = [ f(x) = – ] ก็ต่อเมื่อ > 0 จะมี k < b ซึ่งถ้า x < k แล้ว f(x) > [ f(x) < – ]
17
ทฤษฎีบท 4.3.10 ให้ D และ f, g : D ,
( a, ) D , a ถ้า g(x) > 0 สำหรับ x > a และ = L เมื่อ L , L 0 ถ้า L > 0 แล้ว f(x) = ก็ต่อเมื่อ g(x) = ถ้า L < 0 แล้ว f(x) = – ก็ต่อเมื่อ g(x) =
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.