ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
ลำดับลู่เข้า และลำดับลู่ออก (Convergent Sequences and Divergent Sequences)
2
ลำดับลู่เข้า และลำดับลู่ออก
(Convergent Sequences and Divergent Sequences) บทนิยาม ให้ เป็นลำดับของจำนวนจริง ถ้า = L เรียก ว่าเป็น ลำดับลู่เข้า (convergent sequence) และ ลู่เข้าสู่ค่า L
3
ถ้า ไม่มีลิมิต เรียก ว่าเป็น
ลำดับลู่ออก (divergentsequence) 1, , , , , , , เป็นลำดับที่ลู่เข้าสู่ 0 2, 2, 2, 2, …, 2, เป็นลำดับที่ลู่เข้าสู่ 2 เป็นลำดับที่ลู่เข้าสู่ 2
4
ไม่มีลิมิต 0, 2, 0, 2, …, 1 + (–1)n, ไม่มีลิมิต ทฤษฎีบท ถ้า เป็นลำดับของจำนวนจริง และ เป็นลำดับลู่เข้า แล้ว จะลู่เข้าสู่ค่า หนึ่งค่าเดียวเท่านั้น
5
การพิสูจน์ สมมติให้ลำดับ ลู่เข้าสู่จำนวนจริงมากกว่า 1 ค่า
ให้ = L และ = M โดยที่ L M ดังนั้น | M – L | > 0 ให้ = | M – L | เนื่องจาก = L จะมีจำนวนเต็มบวก k1 ที่ทำให้ | sn – L | < | M – L | , n k1
6
และเนื่องจาก = M จะมีจำนวนเต็มบวก k2 ที่ทำให้
| sn – M | < | M – L | , n k2 ให้ k = max { k1, k2 } ดังนั้น | sn – L | < | M – L | , n k และ | sn – M | < | M – L | , n k
7
แต่ | M – L | = | M – sn + sn – L |
| sn – M | + | sn – L | < | M – L | | M – L | , n k ทำให้ | M – L | < | M – L | ซึ่งเป็นไปไม่ได้ นั่นคือ ลู่เข้าสู่ค่าหนึ่งค่าเดียวเท่านั้น
8
ทฤษฎีบท 3.2.3 ถ้า เป็นลำดับของจำนวนจริง และ
ลู่เข้าสู่ L แล้วลำดับย่อยใดๆของ จะลู่เข้าสู่ L การพิสูจน์ ให้ เป็นลำดับย่อยของ โดยนิยามของลำดับย่อย จะได้ n1 < n2 < n3 < … < ni < … , ni , i ทำให้ ni i , i
9
ดังนั้นทุก > 0 จะมีจำนวนเต็มบวก k ซึ่งทำให้
เนื่องจาก = L ดังนั้นทุก > 0 จะมีจำนวนเต็มบวก k ซึ่งทำให้ | sn – L | < , n k เลือก k = nk k สำหรับ i k , ni nk ทำให้ | – L | < เมื่อ i k นั้นคือ = L
10
บทแทรก 3.2.4 ลำดับย่อยของลำดับที่ลู่เข้า ย่อมลู่เข้าสู่ค่าเดียวกัน
การพิสูจน์ จากทฤษฎีบท ลำดับ เป็นลำดับลู่เข้า ย่อมลู่เข้าสู่ค่าหนึ่งค่าเดียวเท่านั้นและจากทฤษฎีบท 3.2.3 ลำดับย่อยของลำดับที่ลู่เข้าสู่ค่า L เป็นลำดับลู่เข้าสู่ค่า L นั่นคือ ลำดับย่อยของลำดับที่ลู่เข้า ย่อมลู่เข้าสู่ค่าเดียวกัน
11
ตัวอย่าง 1 = มีลำดับย่อย คือ
ลำดับ 1, 1, 1, … เป็นลำดับลู่เข้าสู่ 1 และ ลำดับ –1, –1, –1, … เป็นลำดับลู่เข้าสู่ –1 ดังนั้น เป็นลำดับลู่ออก
12
บทนิยาม 3.2.5 ให้ เป็นลำดับของจำนวนจริง
จะเรียกลำดับ ลู่ออกไปยังบวกอนันต์ (diverges to infinity ) เมื่อ n เข้าสู่ ก็ต่อเมื่อ สำหรับจำนวนจริงบวก M จะมีจำนวนเต็มบวก k ซึ่งทำให้ sn > M สำหรับ n k ลำดับ ลู่ออกสู่ อาจเขียนแทนด้วย = (หรือ sn เมื่อ n )
13
ตัวอย่าง 2 กำหนด = ให้ M > 0 โดยสมบัติอาร์คีมิเดียน สามารถหาจำนวนเต็มบวก k ซึ่ง k > M ทำให้ n > M , n k นั่นคือ =
14
บทนิยาม 3.2.6 ให้ เป็นลำดับของจำนวนจริง
จะเรียกลำดับ ลู่ออกไปยังค่าลบอนันต์ (diverges to minus infinity –) เมื่อ n เข้าสู่ ก็ต่อเมื่อ สำหรับ จำนวนจริงบวก M จะมีจำนวนเต็มบวก k ซึ่ง sn < –M สำหรับ n k ลู่ออกสู่ – อาจเขียนแทนด้วย = – (หรือsn – เมื่อ n )
15
ตัวอย่าง 3 กำหนด = ให้ M > 0 จากสมบัติอาร์คีมิเดียน สามารถหา จำนวนเต็มบวก k ซึ่ง k > M ดังนั้น –n –k < –M , n k นั้นคือ = –
16
บทนิยาม 3.2.7 ถ้า เป็นลำดับของจำนวนจริง ลำดับ
เป็นลำดับลู่ออก แต่ไม่ใช่ลำดับลู่ออกสู่ค่า อนันต์ หรือ ค่าลบอนันต์ จะเรียก ว่าเป็น ลำดับแกว่งกวัด (oscillating sequence)
17
ตัวอย่าง 4 (1) = –1, 1,–1, 1,–1, … เป็นลำดับแกว่งกวัด เพราะเป็นลำดับลู่ออก แต่ไม่ลู่เข้าสู่อนันต์ หรือลบอนันต์ (2) ลำดับ 1, 2, 1, 4, 1, 6, … เป็นลำดับแกว่งกวัด เพราะเป็นลำดับลู่ออก แต่ไม่ลู่เขาสู่อนันต์ หรือลบอนันต์
18
ลำดับที่มีขอบเขต บทนิยาม 3.2.8 ให้ เป็นลำดับจำนวนจริง
บทนิยาม ให้ เป็นลำดับจำนวนจริง (1) ลำดับ มี ขอบเขตบน เมื่อเรนจ์ของลำดับ มีขอบเขตบน (2) ลำดับ มี ขอบเขตบน เมื่อเรนจ์ของลำดับ มีขอบเขตล่าง (3) ลำดับ มี ขอบเขต ถ้ามีจำนวนจริงบวก M ซึ่งทำให้ | sn| M, n
19
หรือ ลำดับ มีขอบเขต เมื่อเรนจ์ของลำดับ
มีขอบเขตบน และขอบเขตล่าง
20
ทฤษฎีบท 3.2.9 ถ้า เป็นลำดับที่ลู่เข้า แล้ว
เป็นลำดับที่มีขอบเขต การพิสูจน์ เนื่องจาก เป็นลำดับลู่เข้า ให้ = L ถ้าให้ = 1 จะมีจำนวนเต็มบวก k ซึ่งทำให้ | sn – L | < 1 , n k | | sn| – | L | | | sn – L | < 1 , n k | sn | < | L | , n k
21
ให้ M = max { | s1 |, | s2 |, | s3 |, …, | sk–1 | }
ทำให้ | sn | < M + | L | + 1 , n\ นั้นคือ เป็นลำดับที่มีขอบเขต
22
บทกลับของทฤษฎีบท ไม่จริง เพราะลำดับที่มีขอบเขต ไม่จำเป็นต้องเป็นลำดับลู่เข้า เช่น 1, –1, 1, –1, ..., (–1)n+1, ...
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.