งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่
1

2 80% 20% 20% 80% สร้างเสริมสุขภาพ สมบูรณ์ ปกติ ป่วย ตาย ป้องกันโรค

3 _ + การส่งเสริมสุขภาพ คิดเริ่มจากการประคับ ประคองสุขภาพปกติให้ยืนยาว ถ้าให้ดียิ่งขึ้น ยิ่งดี การป้องกันโรค เป็นมุมมองที่จัดการกับการไม่ให้เราเป็นโรคภัยไข้เจ็บ เน้นเป็นเรื่องๆโรคๆ ไม่ได้มองเป็นภาพรวมของการอยากให้มีชีวิตที่แข็งแรง

4 วิถีชีวิต (life style)
สิ่งแวดล้อม งานสร้างเสริมสุขภาพ สุขภาพ วิถีชีวิต (life style)

5 กลยุทธ์แห่งการส่งเสริมสุขภาพ 5 ประการ ตามกฎบัตรออตตาวา
สร้างนโยบายสาธารณะที่เข้มแข็งและเอื้อต่อสุขภาพ (build healthy public policy) สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (create supportive environment) เสริมสร้างกิจกรรมชุมชนให้เข้มแข็ง (strengthen community action) พัฒนาทักษะส่วนบุคคล (develop personal skills) ปรับเปลี่ยนบริการสาธารณสุข (reorient health services)

6 บางกอกชาเตอร์ จุดเน้นจากการประชุมครั้งนี้อยู่ที่ การรณรงค์ผลักดันสังคมอย่างยั่งยืน และต้องทำให้เกิดกิจกรรมทางการเมืองที่เข้มแข็งด้วย เป็นพันธะสัญญาร่วมกันระดับโลกเพื่อบรรลุถึงการจัดการกับปัจจัยหลักที่ส่งผลต่อสุขภาพ (determinants of health)

7 การกิน. การอยู่อาศัย. การทำงาน. การพักผ่อนหย่อนใจ. การมีจิตสำนึกดี
การกิน การอยู่อาศัย การทำงาน การพักผ่อนหย่อนใจ การมีจิตสำนึกดี การมีศีลธรรม

8 การกิน การอยู่อาศัย วงจรอาหาร สุขาภิบาล ภาชนะ
โฆษณา การเลือกกิน ความถี่ในการกิน สุขาภิบาล มาตรฐานแบบบ้าน, การก่อสร้าง วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ ผังเมือง การดูแลความสะอาด ความปลอดภัยในชีวิต

9 การทำงาน การพักผ่อนหย่อนใจ ประเภทอาชีพ การใช้เวลาว่าง
สภาพแวดล้อมที่ทำงาน รอบการทำงาน การใช้แรง รูปแบบท่าทาง การใช้เวลาว่าง การออกกำลังกาย ระยะเวลา สภาพแวดล้อม

10 การมีจิตสำนึกที่ดี การมีศีลธรรม การปลูกฝังในครอบครัว โรงเรียน
การกระตุ้นจากสื่อ สภาพสังคม ความอบอุ่นในครอบครัว สังคม การปลูกฝังในครอบครัว โรงเรียน การทำตัวเป็นแบบอย่างของผู้นำทางสังคม

11 วงจรอาหาร ภาชนะ โฆษณา การเลือกกิน ความถี่ในการกิน สุขาภิบาล มาตรฐานแบบบ้าน, การก่อสร้าง วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ ผังเมือง การดูแลความสะอาด ความปลอดภัยในชีวิต ประเภทอาชีพ สภาพแวดล้อมที่ทำงาน รอบการทำงาน การใช้แรง รูปแบบท่าทาง การใช้เวลาว่าง การออกกำลังกาย ระยะเวลา สภาพแวดล้อม การปลูกฝังในครอบครัว โรงเรียน การกระตุ้นจากสื่อ สภาพสังคม ความอบอุ่นในครอบครัว สังคม การทำตัวเป็นแบบอย่างของผู้นำทางสังคม

12 วงจรอาหาร ภาชนะ โฆษณา การเลือกกิน ความถี่ในการกิน สุขาภิบาล มาตรฐานแบบบ้าน, การก่อสร้าง วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ ผังเมือง การดูแลความสะอาด ความปลอดภัยในชีวิต ประเภทอาชีพ สภาพแวดล้อมที่ทำงาน รอบการทำงาน การใช้แรง รูปแบบท่าทาง การใช้เวลาว่าง การออกกำลังกาย ระยะเวลา สภาพแวดล้อม การปลูกฝังในครอบครัว โรงเรียน การกระตุ้นจากสื่อ สภาพสังคม ความอบอุ่นในครอบครัว สังคม การทำตัวเป็นแบบอย่างของผู้นำทางสังคม

13 ทำไมต้องมีกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
1. มีท้องถิ่นจำนวนมากทั่วประเทศได้ทำงานด้านสาธารณสุข อยู่แล้ว และหลายพื้นที่ทำได้ดีมาก 2. งานส่งเสริม/ป้องกันโรคในพื้นที่ เป็นงานที่ต้องการการมีส่วน ร่วมสูง จึงจะประสบความสำเร็จ 3. งานส่งเสริม/ป้องกันโรคพื้นฐาน(self care)เป็นงานที่หน่วยงานอื่น ภาคประชาชน เครือข่ายต่างๆ รวมถึงประชาชน สามารถ ดำเนินการเองได้

14 ความเป็นมา พระราชบัญญัติ หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๕ มาตรา ๔๗
เพื่อสร้างหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้กับบุคคลในพื้นที่ โดยส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมตามความพร้อม ความเหมาะสม และความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น ให้คณะกรรมการสนับสนุน และประสานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กำหนดหลักเกณฑ์เพื่อให้ องค์กรดังกล่าว เป็นผู้ดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกัน สุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ โดยให้ได้รับค่าใช้จ่ายจากกองทุน

15 สถานภาพของกองทุน มาตรา ๔๗ พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
มาตรา ๔๗ พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ประกาศ สปสช. ลว.๒๙ กันยายน ๒๕๕๒ มาตรา ๖๖ – ๖๗ ที่เกี่ยวข้องกับอำนาจหน้าที่ของ อบต.ในการจัดบริการสาธารณะ การควบคุมและป้องกันโรค แห่ง พ.ร.บ.สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ.๒๕๓๗ หนังสือสั่งการของกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น ๒ ฉบับ มท ๐๘๙๑.๓/ว ๑๑๑๐ (๓ เม.ย.๕๐) / ว ๒๑๙๙ (๑๐ พ.ย.๕๒) บันทึกข้อตกลง ๗ ฝ่าย (สปสช. สธ. มท. พม. สมาคมสันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย สมาคม อบต.แห่งประเทศไทย สมาคม อบจ.แห่งประเทศไทย) บันทึกข้อตกลง สปสช. กับ อปท.ที่เข้าร่วม

16 การบริหารงบ P&P ปี 2554 P&P Capitation NPP &Central Procurement
( บาท ต่อปชก.ทุกสิทธิ 64.4 ล้านคน) คำนวณจาก บาทต่อปชก.สิทธิ UC จำนวน 48 ล้านคน NPP &Central Procurement 934 ลบ.(14.52 บ./ปชก.) P&P Area based 3,760 ลบ. (58.41 บ./ปชก.) P&P Expressed demand 6,964 ลบ.( บ./ปชก.) บริหารแบบเขตบริการสุขภาพภายใต้ อปสข. Itemized 9 รายการ (28.69บ./ปชก.) Capitation (79.48 บ./ปชก.) Area problem ระดับเขต (18.41+ส่วนที่เหลือ) กองทุน อปท. 934 ลบ. (40 บ) Diff. by age group หักเงินเดือน หน่วยบริการ/ สถานพยาบาล/ หน่วยอื่นๆที่ให้บริการ CUP Expressed demand 9 กิจกรรมหลัก ได้แก่ ANC, PNC, FP, TSH, EPI, คัดกรองมะเร็งปากมดลูก, Depression, คัดกรองความเสี่ยงและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

17 เป้าหมายของกองทุน เพื่อลดอัตราการป่วยของประชาชน
1.ประชาชน ชุมชน สามารถดูแลสุขภาพของตนเองได้ 2.สร้างกระบวนการ การมีส่วนร่วมในการทำงานด้านสุขภาพในพื้นที่ 3.มีหน่วยงาน องค์กร ภาคีเครือข่าย จำนวนมาก มาร่วมกันทำงานส่งเสริมสุขภาพ/ป้องกันโรค/ฟื้นฟูสมรรถภาพ เพื่อลดอัตราการป่วยของประชาชน

18 วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมการจัดบริการสาธารณสุข โดยเน้นการส่งเสริมสุขภาพการป้องกันโรคและการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อ ต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต รวมทั้งการสนับสนุนการรักษาพยาบาลในระดับปฐมภูมิ 2.เพื่อส่งเสริมให้กลุ่มแม่และเด็ก กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้พิการ กลุ่มผู้ประกอบอาชีพที่มีความเสี่ยงและกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่อยู่ในชุมชน สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขได้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ อย่างน้อยตามชุดสิทธิประโยชน์ที่กำหนด

19 วัตถุประสงค์ 3.เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายให้กลุ่มประชาชนหรือองค์กรประชาชนในการจัดทำกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคหรือฟื้นฟูสมรรถภาพในชุมชน 4.เพื่อสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ ทั้งนี้ต้องไม่เกินร้อยละ 10 ของค่าใช้จ่ายทั้งหมดในรอบปีนั้น กรณีที่จำเป็นต้องซื้อครุภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องโดยตรง ต้องราคาไม่เกิน 20,000 บาท/หน่วย

20 งบส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค ระดับชุมชน (40บาท/ประชากร)
งบส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรค ระดับชุมชน (40บาท/ประชากร) พื้นที่ที่มีกองทุน 40 บาท/ประชากร สปสช. ประชาชนสมทบ รายได้อื่นของกองทุน อบต./เทศบาลสมทบ ขนาดเล็ก 20% ขนาดกลาง 30% ขนาดใหญ่ 50% เทศบาล 50%

21 เป้าหมายและงานเน้นหนักกองทุนฯปี 2554
อบต. และเทศบาลทุกแห่งร่วมดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ ทุกกองทุนมีข้อมูลสุขภาพกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ มีแผนสุขภาพชุมชน หรือแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ของชุมชนร่วมกับหน่วยบริการ ทุกกองทุนมีการตรวจคัดกรอง สร้างเสริมสุขภาพป้องกันโรคเรื้อรัง เน้นโรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคไข้เลือดออก เอดส์ และวัณโรค

22 เป้าหมายและงานเน้นหนักกองทุนฯปี 2554
4. ทุกกองทุนมีกิจกรรมและอาสาสมัครดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ คนพิการ คนด้อยโอกาสร่วมกับหน่วยบริการและท้องถิ่น ทุกกองทุนมีการติดตามประเมินผลกองทุน โดยหน่วยงานวิชาการภายนอก และมีรายงานการเงินทุกไตรมาส และประจำปีผ่านระบบอิเลคโทรนิค 6. ทุกจังหวัดมีกองทุนต้นแบบเป็นศูนย์เรียนรู้เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

23 อายุของคณะกรรมการ 1.คณะกรรมการอยู่ในตำแหน่งคราวละ 2 ปี
2.การพ้นตำแหน่ง โดยหมดวาระ หรือ ตาย ลาออก จำคุก คนไร้ความสามารถ ล้มละลาย ขาดคุณสมบัติ โดยคำสั่งของ สปสช.

24 บทบาทคณะกรรมการกองทุนสุขภาพท้องถิ่น ในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า

25 บทบาทของคณะกรรมการกองทุน
รณรงค์ผลักดันสังคม (advocate) ทำให้เกิดขึ้นด้วยตนเอง (mediate) เสริม/เพิ่มความสามารถผู้อื่น (enable)

26 กลยุทธ์แห่งการส่งเสริมสุขภาพ 5 ประการ ตามกฎบัตรออตตาวา
สร้างนโยบายสาธารณะที่เข้มแข็งและเอื้อต่อสุขภาพ (build healthy public policy) สร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ (create supportive environment) เสริมสร้างกิจกรรมชุมชนให้เข้มแข็ง (strengthen community action) พัฒนาทักษะส่วนบุคคล (develop personal skills) ปรับเปลี่ยนบริการสาธารณสุข (reorient health services)

27 การบริหารจัดการกองทุนฯ

28 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/กองทุน
ทฤษฎี 3 ก. เพื่อชุมชนเข้มแข็ง กรรมการ กองทุน กำลังคน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น/กองทุน อสม / แกนนำชุมชน สุขภาพชุมชน 2. กระบวนการบริหารจัดการ 1.สมรรถนะขององค์กร 3. บทบาทภาคี (รัฐและเอกชน) 28

29 การประชุมคณะกรรมการกองทุน
ประชุมเป็นประจำอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง เพื่อจัดทำระเบียบกองทุน ทำแผนงาน (ประมวลข้อมูล สถานการณ์ วิเคราะห์) และกำหนดแนวทางแก้ไข(พิจารณาโครงการต่างๆ) การเข้าร่วมประชุมต้องมีกรรมการอย่างน้อยกึ่งหนึ่ง และใช้ ฉันทามติ เป็นเกณฑ์การตัดสินใจ มีระเบียบวาระการประชุม

30 การประชุมคณะกรรมการกองทุน
จัดทำบันทึกรายงานการประชุมเป็นลายลักษณ์อักษร ต้องมีการรายงานบัญชีรับ-จ่าย และสถานการณ์เงินกองทุน ทุกครั้ง

31 แนวทางการจัดทำแผนงาน/โครงการ
ปัญหาสุขภาพที่เกิดในพื้นที่ สนับสนุนกิจกรรม 4 ลักษณะ (สิทธิประโยชน์, สนับสนุนหน่วยบริการ, ชุมชนและท้องถิ่นดำเนินการ, การบริหารจัดการกองทุน) ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย นโยบายสุขภาพภาพรวมหรือพื้นที่ แนวคิดริเริ่มใหม่หรือนวัตกรรมสร้างเสริมสุขภาพ

32 ตัวอย่างนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ
ชุมชนท้องถิ่น นโยบายชุมชนน่าอยู่ / ชุมชนสุขภาวะ นโยบายถนนสีขาว นโยบายชุมชนปลอดอบายมุข นโยบายชุมชนปลอดมลพิษ นโยบายชุมชนเกษตรปลอดภัย นโยบายจิตอาสาชุมชน นโยบายครอบครัวเป็นสุข 31

33


ดาวน์โหลด ppt กองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google