ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
03764491 ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐาน ทางการจัดการโลจิสติกส์
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐาน ทางการจัดการโลจิสติกส์ Basic Research Methods in Logistics Management เติมศักดิ์ สุขวิบูลย์ คณะวิทยาการจัดการ ครั้งที่ 1 : 15-พ.ย.-54
2
นิสิตเข้าพบและให้คำแนะนำนอกเวลาเรียน - วันจันทร์ เวลา 14.00-16.30 น.
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์ หน่วยกิต Basic Research Methods in Logistics Management วัน/เวลา/สถานที่ : หมู่ 800 วันอังคาร เวลา น. ห้อง 17303 หมู่ 850 วันอังคาร เวลา น. ห้อง 17303 นิสิตเข้าพบและให้คำแนะนำนอกเวลาเรียน - วันจันทร์ เวลา น. - วันพุธ เวลา น. วันหรือวัน เวลาที่เหมาะสม โดยนัดหมายศูนย์การเรียน คณะวิทยาการจัดการ : : : Tel
3
วัตถุประสงค์ของวิชา (Objective of Subject) :
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์ หน่วยกิต Basic Research Methods in Logistics Management วัตถุประสงค์ของวิชา (Objective of Subject) : 1. เพื่อให้นิสิตมีความรู้เกี่ยวกับบทบาท ความสำคัญของการวิจัยและแนวทาง การทำวิจัย รวมทั้งการใช้ประโยชน์งานวิจัยในการดำเนินงานทางธุรกิจและ การจัดการโลจิสติกส์ 2. เพื่อให้นิสิตมีความเข้าใจถึงระเบียบวิธีวิจัย ขั้นตอน และกระบวนการ ดำเนินงานวิจัยที่ถูกต้องตั้งแต่การกำหนดประเด็นปัญหาจนถึงการเขียน รายงานและเสนอผลงานการวิจัยทางธุรกิจและการจัดการโลจิสติกส์ 3. เพื่อให้นิสิตมีทักษะความชำนาญ ความสามารถเชิงการวิเคราะห์และการ ปฏิบัติทางการวิจัยทุกขั้นตอนตามหลักวิชาการ รวมทั้งการประยุกต์ใช้สถิติ โปรแกรมสำเร็จรูปและนำงานวิจัยไปใช้ในการจัดการธุรกิจและการจัดการ โลจิสติกส์
4
คำอธิบายรายวิชา (Course Description) :
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์ หน่วยกิต Basic Research Methods in Logistics Management คำอธิบายรายวิชา (Course Description) : หลักและระเบียบวิธีวิจัยทางการจัดการโลจิสติกส์ การกำหนดปัญหา การ วางรูปการวิจัย การตั้งวัตถุประสงค์และสมมติฐาน การเก็บรวบรวมข้อมูล การสร้างแบบสอบถาม การวิเคราะห์และตีความข้อมูล การใช้สถิติสำหรับ การวิจัย การเขียนรายงานและการเสนอผลการวิจัย Principles and methods in logistics management research, identification of research problems, formulation of research objectives and hypothesis, collection of data, Construction of questionnaire, data analysis and interpretation, application of statistics for research, report writing and presentation.
5
03764491 ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์ 3 หน่วยกิต
Basic Research Methods in Logistics Management วิธีการสอนและระบบสอนเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ : - การบรรยาย ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง/กลุ่ม การฝึกปฏิบัติการ - การค้นคว้าผลงานวิจัย การรวบรวมผล การวิเคราะห์วิจารณ์ การอภิปรายแบบมีส่วนร่วม - การจัดทำโครงการวิจัย เก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล การสรุปผลและนำเสนอ โดยที่มีงานค้นคว้าศึกษาเพิ่มเติมความรู้ และการฝึกปฏิบัติการตามการมอบหมายให้ค้นคว้าจัดทำการวิจัยและรายงานผลการวิจัยด้วยตนเอง
6
1. เอกสารประกอบการสอน อุปกรณ์สื่อการสอน : 2. ตำราและหนังสือ
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์ หน่วยกิต Basic Research Methods in Logistics Management อุปกรณ์สื่อการสอน : 1. เอกสารประกอบการสอน 2. ตำราและหนังสือ 3. เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องฉาย LCD และเครื่องฉายวัตถุ 3 มิติ 4. เครื่องคอมพิวเตอร์ฝึกปฏิบัติการ โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ และเครื่องพิมพ์ 5. แบบฝึกหัด คู่มือการลงรหัส กระดาษลงรหัสและสื่อบันทึก ข้อมูล
7
การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน :
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์ หน่วยกิต Basic Research Methods in Logistics Management การวัดผลสัมฤทธิ์ในการเรียน : 1. การมีส่วนร่วมและความสนใจในการเรียน โดยการเข้าร่วม ร้อยละ 10 รับฟังคำบรรยายอย่างสม่ำเสมอและอภิปรายแลกเปลี่ยนประสบการณ์ 2. การทดสอบ แบบฝึกหัดและงานที่มอบหมายในชั้นเรียน ร้อยละ การทำรายงานการวิจัย ร้อยละ การสอบกลางภาค ร้อยละ การสอบปลายภาค ร้อยละ 25
8
การประเมินผลการเรียน :
ระเบียบวิธีวิจัยพื้นฐานทางการจัดการโลจิสติกส์ หน่วยกิต Basic Research Methods in Logistics Management การประเมินผลการเรียน : สูงกว่า คะแนน ระดับคะแนน A หรือ คะแนน ระดับคะแนน B+ หรือ คะแนน ระดับคะแนน B หรือ คะแนน ระดับคะแนน C+ หรือ คะแนน ระดับคะแนน C หรือ คะแนน ระดับคะแนน D+ หรือ คะแนน ระดับคะแนน D หรือ 1.0 ต่ำกว่า คะแนน ระดับคะแนน F หรือ 0.0
9
เหตุผลการวิจัยธุรกิจ
การวิจัยทำให้เกิดความรู้และความชำนาญที่ต้องการ สำหรับการตัดสินใจที่รวดเร็วภายใต้สภาวะแวดล้อมที่ถูก กำหนด : 1. ปัจจัยในการพิจารณาสภาพแวดล้อมและตัดสินใจ ดำเนินงานทางธุรกิจขององค์กรต่างๆ มีปริมาณมากขึ้น 2. การแข่งขันของธุรกิจมีมาก และรุนแรงขึ้นทั้งระดับ ภายในประเทศและระดับโลก องค์กรจำเป็นต้องปรับตัว 3. องค์ความรู้ต่างๆ ทางธุรกิจเจริญก้าวหน้ามากขึ้น : ระดับคุณภาพทฤษฎีและแบบจำลอง
10
เหตุผลการวิจัยธุรกิจ
4. สารสนเทศต่างๆ มีอยู่มากมายบนเครือข่ายโลก (World Wide Web, WWW) 5. องค์กรต่างๆ ทำเหมืองข้อมูล (Data Mining) ใช้ ในการ วิเคราะห์ข้อมูลจำนวนมากเพื่อหากฎเกณฑ์ การ เรียนรู้และหาความรู้ที่มีอยู่ในระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ ในองค์กร (Internal Databases) 6. ความก้าวหน้าเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ช่วยให้ภาค ธุรกิจสร้างคลังข้อมูล (Data Warehousing)
11
เหตุผลการวิจัยธุรกิจ
7. บุคลากร พนักงาน/เจ้าหน้าที่ ผู้ถือหุ้น ลูกค้าและ สาธารณชนทั่วไปสามารถแสวงหาสารสนเทศได้ อย่าง สะดวกและรวดเร็ว 8. เทคนิคการวิเคราะห์เชิงปริมาณช่วยการคำนวณ ได้รวดเร็วขึ้นในการแก้ไขปัญหาองค์กร 9. จำนวนและขีดความสามารถเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้ใน การ วิจัยเพิ่มขึ้น เช่น โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ เครื่อง คอมพิวเตอร์ ระบบสารสนเทศและการพัฒนาเทคนิค
12
เหตุผลการวิจัยธุรกิจ
10. พฤติกรรมของผู้บริโภคเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ตามสถานการณ์และความต้องการ 11. ความต้องการลดความเสี่ยงจากสภาพแวดล้อมที่มี ความซับซ้อนขึ้นและทรัพยากรมีจำกัด แต่ความต้องการ บริโภคหรือใช้บริการมากขึ้น
13
ภาระหน้าที่/บทบาทของผู้บริหาร
1. การแก้ไขปัญหาทางการจัดการที่เกิดขึ้น โดย นักบริหารการเงิน-บัญชี จะเสนอข้อมูลหรือต้องตัดสินใจเกี่ยวกับ: - การตัดสินใจลงทุน (Investment Decision) - การตัดสินใจแสวงหาเงินทุน (Financial Decision) - การตัดสินใจการจ่ายเงินปันผล (Dividend
14
ภาระหน้าที่/บทบาทของผู้บริหาร
2. การวางแผนเพื่อกำหนดแนวทางที่เหมาะสมในการ บรรลุตามเป้าหมายองค์กร 3. การให้สารสนเทศประกอบการตัดสินใจขององค์กร 4. การควบคุม และตรวจสอบระบบการเงิน-บัญชีให้มีเสถียรภาพและมั่นคงอย่างถูกต้อง 5. สร้างความต้องการเสนอให้กับลูกค้า ผู้บริโภคหรือ ผู้ใช้บริการแทนที่จะให้ลูกค้าเรียกร้องก่อน
15
การแก้ปัญหา/งาน พัฒนาของผู้บริหาร
ปัญหาที่เกิดขึ้น หรือ แผนงาน ที่กำลังพัฒนา การแก้ปัญหา/งาน พัฒนาของผู้บริหาร ข้อมูลที่ถูกต้อง และเชื่อถือได้ ทางเลือก ที่เกิดขึ้น - Primary Data - Secondary Data ทางเลือก ที่เลือก
16
ประโยชน์การวางแผนทางธุรกิจ
1. รับรู้แนวทางในการดำเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ กำหนดไว้ 2. ง่ายต่อการควบคุมและประเมินผล 3. สามารถกำหนดกิจกรรมทางธุรกิจช่วงเวลาต่างๆ อย่าง เหมาะสม 4. สามารถคาดการณ์หรือพยากรณ์ปัญหาที่จะเกิดขึ้นได้ล่วงหน้าในอนาคต 5. ดำเนินการแก้ไขปัญหา ปรับปรุงและพัฒนาให้เกิด ประสิทธิภาพ
17
คุณค่าของการมีทักษะการวิจัย
เพื่อเป็นการรวบรวมสารสนเทศต่างๆ ก่อนลงมือในการ ปฏิบัติงาน ซึ่งสามารถป้องกันปัญหาที่จะเกิดขึ้น เพื่อสามารถใช้ในการศึกษาวิจัยระดับสูงที่มีความลึกซึ้ง ต่อไป เพื่อทำให้เกิดความเข้าใจในการออกแบบวิจัย ขั้นตอน และกระบวนการวิจัย เพื่อสามารถประเมินและแก้ปัญหาทางการบริหารใน องค์กรอย่างถูกต้องและรวดเร็ว เพื่อสร้างอาชีพเป็นผู้เชี่ยวชาญทางการวิจัย
18
ขั้นตอนที่สำคัญของการวิจัย
1. การตั้งคำถามหรือปัญหาของการวิจัย 2. การทบทวนวรรณกรรม 3. การกำหนดแบบของการวิจัย 4. การเก็บรวบรวมข้อมูล 5. การจัดกระทำกับข้อมูล 6. การวิเคราะห์ข้อมูล และ 7. รายงานผลการวิเคราะห์
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.