งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

รายงานประเมินผลความพึงพอใจ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "รายงานประเมินผลความพึงพอใจ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 รายงานประเมินผลความพึงพอใจ
โครงการนำร่องสิทธิประโยชน์ทางภาษีฯ โดย ผศ.ดร. สุภาวดี มิตรสมหวัง (ผู้จัดการโครงการ)

2 agenda ผลประเมินความพึงพอใจจากข้อมูลจากสถานประกอบการ SWOT
แนวทางในการดำเนินโครงการในอนาคต

3 ข้อมูลจาก สถานประกอบการ
ประกอบด้วยข้อมูล 2 ส่วน ข้อมูลจากวิศวกรและผู้ประสานงานโครงการ ข้อมูลจากผู้บริหารสถานประกอบการ จากกลุ่มตัวอย่าง 58 สถานประกอบการ

4 การประเมินผลความพึงพอใจของวิศวกร และผู้ประสานงานโครงการ
การประเมินผลความพึงพอใจของวิศวกร และผู้ประสานงานโครงการ

5 แสดงข้อมูลมาตรการที่ทำการลงทุนเพื่อสิทธิประโยชน์ทางภาษี
14.0% มาตรการติดตั้ง Inverter 11.6% เปลี่ยนอุปกรณ์ประหยัดไฟ เช่น หลอดไป บัลลาสต์ เป็นต้น 11.6% ติดตั้ง VSD เพื่อลดรอบความเร็วมอเตอร์ 53.5%, อื่นๆ เช่น ลดการประจุไฟฟ้า ติดตั้ง Economizer เพื่อนำความร้อนที่ปล่อยทิ้งมาใช้อีก ปรับปรุงแสงสว่าง เป็นต้น 4.7% เปลี่ยน Chiller 4.7% มาตรการประหยัดพลังงานที่ระบบปรับอากาศ

6 ข้อมูลการได้รับข้อมูลคำอธิบายจากศูนย์ประสานงานโครงการฯ เมื่อได้ส่งใบสมัครเพียงพอต่อการตัดสินใจ

7 ความเห็นต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ประจำ ศูนย์ประสานงานโครงการ
ข้อความ ระดับความเห็น 1. มีความเข้าในหลักการการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีแก่โรงงาน/อาคารดี ดี 2. มีความตั้งใจในการให้คำอธิบายวิธีการสมัครและขอข้อมูลเพิ่มเติม 3. ติดตามและประเมินผลการทำงานของโรงงาน/อาคารอย่างสม่ำเสมอ 4. มีความพยายามในการแสวงหาวิธีการแก้ปัญหาให้กับโรงงาน /อาคาร 5. บุคลากรมีความพร้อมในการให้คำแนะนำ ดีมาก 6. บุคลากรมีความเต็มใจในการค้นหาคำอธิบายเพิ่มเติมเมื่อท่านขอความร่วมมือ 7. มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการตรวจสอบติดตามงานที่รวดเร็ว 8. เป็นสื่อกลางในการประสานงานกับ Auditor ดี 9. มีการรายงานความก้าวหน้าของโครงการให้ทราบสม่ำเสมอ 10. มีความเป็นกัลยาณมิตรในการทำงานร่วมกัน ผลการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ประจำศูนย์ประสานงานโครงการโดยรวม

8 ความเห็นต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ประจำศูนย์ประสานงาน

9 สิ่งที่เจ้าหน้าที่ประจำศูนย์ฯ ต้องปรับปรุง
14% ต้องการข้อมูลที่ถูกต้องและแน่นอนในการคำนวณผลประหยัด 14% ควร update ข้อมูลใน Internet ตลอดเวลาให้ทันสมัยอยู่เสมอ 14% ขาดการติดตามงานและการประสานงานกับโรงงาน 14% ชี้แจงรายละเอียดให้ครอบคลุมทั้งหมดของโครงการ 14% ให้รายละเอียดการติดต่อกับศูนย์ฯ ให้มากกว่านี้ 30% ต้องการให้ศูนย์ทำงานเชิงรุก ส่งข้อมูลต่างๆ ให้โรงงาน

10 ระยะเวลาที่รอการติดต่อจากผู้ตรวจผลการวัด
จำนวนวัน รวม จำนวน % ภายใน 1 สัปดาห์ 18 31.0 1 - 2 สัปดาห์ 4 6.9 2 - 3 สัปดาห์ 2 3.4 3 - 4 สัปดาห์ 11 19.0 4 สัปดาห์ ขึ้นไป ไม่ตอบ 21 36.2 58 100.0

11 การเข้าโรงงานของ Auditor
10.4% มาครบทุกขั้นตอน ไม่เป็นไปตามกำหนดเวลา 4.2% มาไม่ครบทุกขั้นตอน แต่เป็นไปตามกำหนดเวลา 85.4% มาครบทุกขั้นตอน ตามกำหนดเวลา

12 ความถี่การเข้าให้คำปรึกษาของ Auditor หลังจากติดตั้งมาตรการ
4.1% ใช้โทรศัพท์ติดต่อกัน 10.2% สัปดาห์ละครั้ง 12.2% ไม่เคยมาเลย 14.3% 2 สัปดาห์ครั้ง 12.2% 2 เดือนครั้ง 44.9% เดือนละครั้ง

13 ความเห็นต่อการปฏิบัติหน้าที่ของ Auditor
ข้อความ ความเห็น 1. มีความรู้ในมาตรการที่โรงงาน/อาคารเลือก ดี 2. มีความเข้าในหลักการการให้สิทธิประโยชน์ทางภาษีแก่โรงงาน/อาคารดี 3. มีตั้งใจในการให้คำอธิบายวิธีการตรวจวัดที่จะใช้ในการทำ Baseline และ Post-Audit 4. มีความสม่ำเสมอในการเข้ามาให้คำปรึกษาแนะนำ ปานกลาง 5. มีการติดตามและประเมินผลการทำงานของโรงงาน/อาคารอย่างสม่ำเสมอ 6. มีความพยายามในการแสวงหาวิธีการแก้ปัญหาให้กับโรงงาน /อาคาร 7. บุคลากรมีความรู้ในเรื่องการตรวจวัดดี สามารถทำการตรวจวัดได้ถูกต้อง 8. มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการตรวจสอบติดตามงานที่สมบูรณ์ 9. เป็นสื่อกลางในการประสานงานกับหน่วยงานที่ให้การสนับสนุนทุนดี 10. มีการรายงานความก้าวหน้าของโครงการให้ทราบสม่ำเสมอ 11. มีการสนับสนุนข้อมูลเพิ่มเติม เมื่อท่านร้องขอ 12. มีความเป็นกัลยาณมิตรในการทำงานร่วมกัน ผลการปฏิบัติงานโดยรวมของ Auditor

14 ข้อมูลประเมินผลการทำงานของ Auditor ที่เข้ามาทำการรับรองผลการตรวจวัด
8.6% ต้องปรับปรุง 20.7% ดีมาก 17.2% ปานกลาง 53.4% ดี

15 สิ่งที่ Auditor ต้องปรับปรุง
1. ปรับเวลาในการตรวจวัดให้มากขึ้น 2. Auditor ยังไม่มีการติดตามผลอย่างต่อเนื่อง 3. โรงงานยังไม่เข้าใจขั้นตอนการทำงาน 4. อยากให้แนะนำมาตรการประหยัดพลังงานที่ โรงงานสามารถดำเนินการได้เอง 5. การติดต่อประสานงานระหว่างภาครัฐกับโรงงาน 6. การให้ข้อมูลเบื้องต้นนับจากวันที่ได้รับเอกสาร การยื่นขอสิทธิทางภาษี 7. อยากให้ Auditor สนับสนุนเรื่องข้อมูลการตรวจวัด

16 ความเห็นต่อการให้การสนับสนุน สถานประกอบการ ในรูปแบบของสิทธิประโยชน์ทางภาษีของรัฐ
3.6% ไม่ควร 96.4% ควร

17 ความเห็นต่อการให้การสนับสนุน สถานประกอบการ ในรูปแบบของสิทธิประโยชน์ทางภาษีของรัฐ
1. สร้างแรงจูงใจให้กับเอกชนและผู้ประกอบการ ในการประหยัดพลังงาน 2. เป็นประโยชน์โดยตรงกับบริษัท 3. เป็นการกระตุ้นให้เกิดมาตรการประหยัดพลังงาน 4. เพื่อจะได้สนับสนุนผู้สมัครใจในการลงทุนเพื่อการ ประหยัดพลังงาน 5. เพื่อช่วยชาติประหยัดพลังงาน

18 ความตระหนักต่อการอนุรักษ์พลังงาน
1. การประหยัดพลังงานเป็นสิ่งจำเป็นเพราะทำให้ประหยัดการนำเข้าพลังงานจาก ต่างประเทศ เห็นด้วยอย่างยิ่ง 2. การใช้พลังงานควรเป็นเรื่องของกลไกทางการตลาด ไม่แน่ใจ 3. การส่งเสริมให้คนในองค์กรเกิดความรู้และเห็นประโยชน์จากการใช้พลังงาน อย่างฉลาด ช่วยลดต้นทุนในการผลิตขององค์กรได้อย่างหนึ่ง 4. การผลิตในโรงงานอุตสาหกรม ต้นทุนด้านพลังงานเป็นสัดส่วนเล็กน้อย ไม่คุ้มการลงทุน เห็นด้วย 5. การประหยัดพลังงานเป็นการช่วยส่งเสริมให้ประเทศไทยมีทรัพยากร เพื่อใช้บริโภคและอุปโภคนานขึ้น 6. การทำธุรกิจต้องใช้ทรัพยากรที่มีอยู่เพื่อเพิ่มผลกำไรให้มากขึ้นเต็มที่ โดยไม่คำนึงถึงผลกระทบต่อสังคม

19 ความตระหนักต่อการอนุรักษ์พลังงาน
7. การตั้งเจ้าหน้าที่กำกับดูแลการใช้พลังงานภายในโรงงาน/อาคาร ควรเป็นสิ่งที่องค์กรให้ความสำคัญ เห็นด้วย 8. การตั้งเจ้าหน้าที่กำกับดูแลการใช้พลังงานภายในโรงงาน/อาคาร ทำให้ต้องเพิ่มภาระงานและค่าตอบแทน เป็นการสร้างรายจ่ายให้กับโรงงาน 9. ควรมีการกระตุ้นให้โรงงาน/อาคารเข้าร่วมโครงการให้ครอบคลุมทุกอุตสาหกรรม 10. ผลของการทดลองโครงการยังไม่ชัดเจนเป็นรูปธรรม ควรชะลอการขยายผล 11. โรงงาน/อาคาร ควรสร้างพันธมิตรทางการค้า เพื่อลดการผลิตที่ซ้ำซ้อน ไม่แน่ใจ 12. การสร้างเครือข่ายอาจมีผลต่อการแข่งขันในตลาดในภาพรวม

20 หาก พพ. ต้องการขยายผลโครงการ คิดว่าจะเข้าร่วมหรือไม่
5.4% ไม่แน่ใจ 94.6% เข้าร่วม

21 เหตุผลที่ต้องการเข้าร่วมโครงการฯ
1. เป็นโครงการที่มีประโยชน์ 2. เกิดผลดีกับบริษัทและประเทศชาติ 3. ได้รับความรู้เพิ่มเติมในการอนุรักษ์พลังงานและทำให้ บริษัทสามารถประหยัดพลังงานได้ 4. ทำให้บริษัทสามารถลดค่าใช้จ่ายในเรื่องภาษี 5. เป็นนโยบายของบริษัทที่ดำเนินการในเรื่องนี้อยู่แล้ว 6. เป็นการลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน 7. เป็นการช่วยกันประหยัดพลังงาน 8. เป็นการลดต้นทุนการผลิตและลดค่าใช้จ่ายของบริษัท 9. สิทธิประโยชน์ที่ได้รับจากการขยายผลขอภาษีที่องค์กรได้รับ 10. เป็นการกระตุ้นให้เกิดการอนุรักษ์พลังงาน

22 เหตุผลที่ไม่แน่ใจว่าจะเข้าร่วมโครงการฯ หรือไม่
1. เวลาการดำเนินโครงการมีน้อยเกินไป 2. การตัดสินใจอยู่ที่ฝ่ายบริหาร 3. ขั้นตอนการดำเนินโครงการที่มีหลายขั้นตอน

23 พพ.ควรขยายผลต่อไปในอนาคตหรือไม่
6.9% ไม่ควร 93.1% ควร

24 เหตุผลที่ พพ.ควรขยายผลต่อไปในอนาคต
1. เป็นการช่วยประเทศชาติประหยัดพลังงาน 2. ช่วยกระตุ้นให้เกิดการประหยัดพลังงานได้มากขึ้น 3. เกิดผลดีต่อส่วนรวม 4. โรงงานได้รับประโยชน์ 5. ทำให้บริษัทสามารถประหยัดค่าใช้จ่ายในการลงทุน 6. ทำให้บริษัทได้รับเงินสนับสนุนจาก พพ. 7. เพื่อให้โครงการสามารถดำเนินการได้อย่างต่อเนื่อง และเป็นรูปธรรม 8. ได้ประโยชน์ในเรื่องการเสียภาษี

25 ปัญหาภายในที่พบจากการเข้าร่วมโครงการและเป็นเหตุ ที่ทำให้ท่านคิดจะขอถอนตัวจากโครงการ
ขาดความรู้ความข้าใจ ความล่าช้าของการประเมินผลประหยัด ความไม่พร้อมของโรงงานเกี่ยวกับการตรวจวัด ขาดอุปกรณ์ในการประเมินผลการประหยัด การดำเนินงานล่าช้ากว่าจะผ่านการตรวจสอบทำให้เสียประโยชน์ การดำเนินงานล่าช้า เงินลงทุนในการเปลี่ยนอุปกรณ์การประหยัดพลังงาน การตรวจวัดใช้เวลานาน การจัดซื้ออุปกรณ์และการจับพลังงานไม่ต่อเนื่องหลังการผลิต ลดลง การปรับปรุงอาคารทำให้ไม่สะดวกต่อการดำเนินงาน

26 ปัญหาภายนอกที่พบจากการเข้าร่วมโครงการและเป็นเหตุ ที่ทำให้ท่านคิดจะขอถอนตัวจากโครงการ
การติดต่อประสานงานค่อนข้างล่าช้า และไม่ต่อเนื่อง ปัญหาทางด้านการเมืองและเศรษฐกิจ ปัญหาทางด้านเศรษฐกิจทำให้ไม่มีงบประมาณทางด้านนี้ การประสานงานกับหน่วยงานราชการ ระยะเวลาในการตรวจของคณะกรรมการฯ ล่าช้า มีการเปลี่ยนแปลงบ่อย ขั้นตอนยุ่งยากซับซ้อน การดำเนินการไม่ชัดเจน ในการเพิ่มอุปกรณ์ต่างๆ ทำให้ต้องลงทุนเพิ่มมากขึ้น

27 โครงการควรดำเนินการอย่างไร เพื่อจูงใจให้ เข้าร่วมโครงการมากขึ้น
ควรดำเนินการประชาสัมพันธ์โครงการให้ผู้ประกอบการทราบมากกว่านี้ ให้ที่ปรึกษาเข้ามาช่วยในการดำเนินงานหามาตรการให้มากขึ้น ให้ผลตอบแทนด้านสิทธิประโยชน์เพิ่มมากขึ้น อยากให้ พพ.ขยายเวลาการติดตามผลประหยัด ปรับปรุงประสิทธิภาพการใช้พลังงาน สร้างแรงจูงใจในการเข้าร่วมโครงการ

28 โครงการควรดำเนินการอย่างไร เพื่อจูงใจให้เข้าร่วมโครงการมากขึ้น
ควรลดขั้นตอนและระยะเวลาในการพิจารณาอนุมัติการ ติดตั้งลง เพิ่มระยะเวลาในการดำเนินงาน เชิญผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงานให้ได้รับข้อมูลจาก พพ. ควรมีการส่งผู้เชี่ยวชาญเข้าร่วมหามาตรการกับโรงงาน เงินที่ได้จากการประหยัดให้นำไปหักภาษีเลยจะได้ไม่ต้องเสียซ้ำซ้อนอีก ลดราคาอุปกรณ์ประหยัดพลังงาน สนับสนุนงบประมาณให้โรงงาน เปิดโอกาสให้สถานประกอบการทุกประเภทเข้าร่วมโครงการ เพิ่มสิทธิประโยชน์ด้านอื่นๆ ด้วย

29 ผลการประเมินความพึงพอใจผู้บริหาร
โดย ทีมงานติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน โครงการนำร่องสิทธิประโยชน์ทางภาษี

30 เหตุผลที่สนับสนุนทีมอนุรักษ์พลังงานเข้าร่วมโครงการฯ
ต้องการลดค่าพลังงานต่างๆ /ต้องการประหยัดพลังงาน/ ต้องการลดค่าใช้จ่าย/ต้องการลดต้นทุนการผลิต โรงงานดำเนินการเรื่องนี้อยู่แล้ว เป็นนโยบายของสถานประกอบการ เป็นการพัฒนาบุคลากรของบริษัท มีข้อมูลที่บ่งชี้เรื่องการประหยัดพลังงานที่ชัดเจน บริษัทที่ปรึกษาสามารถช่วยเหลือด้านข้อมูลความรู้ต่างๆ ต้องการให้ผู้บริหารเห็นความสำคัญและให้การสนับสนุน

31 6.1% ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อผลสำเร็จที่ดี
การให้นโยบายเกี่ยวกับการใช้พลังงานในอาคาร/โรงงาน กับ ผชอ./ผชร.ด้านพลังงาน 6.1% ใช้มาตรการประหยัดพลังงานต่างๆ 6.1% ดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อผลสำเร็จที่ดี 6.1% ปลูกจิตสำนึกการใช้พลังงาน 81.8% กำหนดเป็นนโยบายประหยัดพลังงาน

32 ความมั่นใจในมาตรการอนุรักษ์พลังงาน ของผู้บริหาร ที่ทีมอนุรักษ์พลังงานนำเสนอ
39.4% ปานกลาง 60.6% มาก

33 โครงการฯ จะช่วยลดต้นทุนในการผลิตค่าใช้จ่ายด้านพลังงาน ในอาคารมากน้อยเพียงใด
9.1% น้อย 36.4% มาก 54.5% ปานกลาง

34 ความรู้สึกหากผลประหยัดที่ได้น้อยกว่าที่คาดการณ์ไว้โดยวิศวกร
1. มีความพอใจในขั้นตอนการทำงานของโครงการฯ 2. เบื่อหน่ายกับแนวทางการตรวจวัดที่เข้มงวด ใช้ต้นทุนสูง ไม่คุ้มกับ ผลประหยัดที่ได้รับ 3. น่าจะมีการทำการตรวจวัดที่เป็นมาตรฐานไม่ยุ่งยาก 4. ขาดความเชื่อมั่นในผลงานของทีมวิศวกรของโรงงาน/อาคาร 5. ขาดความเชื่อมั่นในผู้จำหน่ายสินค้า ที่นำเสนอผลประหยัดเกินจริง 6. ทางโรงงานมีความมุ่งมั่นที่จะดำเนินโครงการอย่างต่อเนื่อง 7. ขาดศรัทธาในโครงการของ พพ. เพราะไม่ได้แสดงให้เห็นถึงความจริงใจ ในการช่วยโรงงานอุตสาหกรรมปรับปรุงกระบวนการผลิต 8. น่าจะคิดจากเงินสนับสนุนที่ พพ.จ่ายให้ไม่ต้องเกี่ยวพันกับภาษี 9. ยังอยากเข้าร่วมโครงการอีก 10. Auditor เก็บข้อมูลเกินความเป็นจริง

35 ท่านได้รับประโยชน์โดยตรงจากโครงการนี้คุ้มกับการลงทุน เพราะ
1. ในระยะยาวผลการประหยัดจะคุ้มค่าการลงทุน 2. ได้ผลประหยัดจริงและได้รับความรู้จาก Auditor 3. ได้รับเงินสนับสนุนจาก พพ. 4. ได้รับผลประหยัด ซึ่งเป็นนโยบายของบริษัท 5. การคืนทุนของโครงการเร็ว 6. สามารถลดการใช้พลังงานได้มาก

36 การสนับสนุนทีมอนุรักษ์ฯ หลังจบโครงการฯ
3% เห็นความสำคัญของการใช้พลังงานและเป็นประโยชน์ 3% เพราะเห็นผลระยะยาว 6.1%เป็นนโยบายบริษัท 9.1% ดำเนินการต่อเนื่อง 78.8% อยากให้มีการทำโครงการต่อเนื่องและเห็นผลชัดเจน

37 บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจเรื่องการอนุรักษ์พลังงานเพิ่มขึ้นมากน้อยเพียงใด
9.1% น้อย 36.4% มาก 54.5% ปานกลาง

38 แนวทางที่ พพ.กำหนดในการเข้าร่วมโครงการฯ เป็นขั้นตอนการดำเนินงานที่เหมาะสมหรือไม่
21.9% ไม่เหมาะสม 78.1% เหมาะสม

39 เหตุผลที่คิดว่า ขั้นตอนในการให้บริการของ พพ. เหมาะสมแล้ว
ง่ายต่อการปฏิบัติ สามารถทำได้ง่าย มีบริษัทที่ปรึกษาเข้ามาแนะนำแนวทางให้โรงงาน สามารถลดต้นทุนได้จริง บริษัทได้ประโยชน์ มีการกำหนดเป้าหมายการดำเนินงานที่ชัดเจน

40 แนวทางที่ พพ.กำหนดในการเข้าร่วมโครงการฯ เป็นขั้นตอนการดำเนินงานที่ไม่เหมาะสม
การตรวจวัดมีความล่าช้า ทีมงานที่ปรึกษายังขาดประสบการณ์ในการดำเนินโครงการ ขั้นตอนในการอนุมัติจากคณะกรรมการน่าจะกระชับกว่านี้ ขั้นตอนในการอนุมัติจากคณะกรรมการยังมีความยุ่งยากซับซ้อน

41 ข้อเสนอในการปรับปรุงขั้นตอนการทำงานให้ดีขึ้น
ควรมีการประชาสัมพันธ์ให้มากกว่านี้ ให้การสนับสนุนในเรื่องเครื่องมือตรวจวัด ต้องส่งผู้เชี่ยวชาญเข้ามาให้คำแนะนำกับบริษัท อยากได้รับเงินสนับสนุนมาช่วยดำเนินมาตรการเพิ่มขึ้น ประชาสัมพันธ์ข้อดีข้อเสียที่โรงงานจะได้รับ โดยชี้แจงให้เห็นผลสำเร็จของโครงการ เลือกทีมงานที่ปรึกษาที่มีความรู้ความสามารถมากกว่านี้

42 ข้อเสนอในการปรับปรุงขั้นตอนการทำงานให้ดีขึ้น
ควรเพิ่มสิทธิประโยชน์ เช่น การลดหย่อนภาษี ควรมีการติดตามผลการดำเนินงานของบริษัท น่าจะให้โรงงานสามารถสมัครเข้าร่วมโครงการได้เลยทันที อยากให้ พพ.ออกเป็นกฎระเบียบ Auditor ต้องมีขั้นตอนการทำงานที่ชัดเจน และต้องมีเวลาให้กับโรงงาน มากกว่านี้ จะต้องมีมาตรการการตรวจวัดที่รัดกุมและมีขั้นตอนไม่ยุ่งยาก พพ.จะต้องส่งข่าวสารของโครงการให้โรงงานทราบ เพื่อให้โรงงานสามารถสมัครเข้าร่วมโครงการได้ดีขึ้น

43 SWOT

44 จุดแข็ง SWOT ข้อจำกัด โอกาส จุดอ่อน

45 SWOT จุดแข็ง องค์ความรู้เกี่ยวกับวิธีการตรวจวัดที่ได้จากการพัฒนาร่วมกันระหว่างAuditor และ ทีมงานจากสถานประกอบการ สิทธิประโยชน์ที่ได้รับจากเงินกองทุนโดยไม่ต้องผ่านสรรพากร ความโปร่งใสของกระบวนการดำเนินการ การพัฒนาศักยภาพของวิศวกรภายในสถานประกอบการ

46 SWOT จุดอ่อน ทีมงาน Auditor ขาดประสบการณ์ และมีจำนวนน้อยเมื่อเทียบกับจำนวนสถานประกอบการที่เข้าร่วมโครงการ อุปกรณ์ตรวจวัดพลังงานมีราคาแพง สถานประกอบการหลายแห่งยังขาดความพร้อมในการตรวจวัดพลังงานด้วยตนเอง ขั้นตอนการพิจารณาอนุมัติโครงการใช้เวลานานและข้อมูลที่ใช้พิจารณามีความละเอียดมาก

47 SWOT จุดอ่อน การประชาสัมพันธ์โครงการน้อย
ทีมงานบริหารโครงการยังขาดประสบการณ์ ความคลาดเคลื่อนของผลประหยัดที่เกิดขึ้นจริง การคิดผลประหยัดที่อิงกับรอบปีภาษี

48 SWOT โอกาส สถานการณ์ด้านพลังงานอยู่ในภาวะวิกฤต
การผลักดันให้สถานประกอบการจัดทำเป้าหมายและแผน สถานการณ์การแข่งขันทางการค้าที่รุนแรง การสูญเสียสิทธิประโยชน์ทางการค้า ISO 14000

49 SWOT ข้อจำกัด นโยบายของภาครัฐที่ไม่แน่นอน สถานการณ์ทางการเมือง
การขาดความเชื่อมั่นของสรรพากร

50 เมื่อประมวลผลการเก็บข้อมูลภาคสนาม ประกอบการวิเคราะห์สถานการณ์แวดล้อมของโครงการ ฝ่ายประเมินมีความเห็นว่า สมควรจะดำเนินการโครงการนี้ในอนาคต แต่ต้องดำเนินการปรับปรุงในด้านต่าง ๆ ดังนี้

51 แนวทางในการดำเนินการในอนาคต

52 แนวทางในการดำเนินการ ในอนาคต
เพิ่มจำนวน Auditor ให้เหมาะสมกับจำนวนผู้เข้าร่วมโครงการ เพิ่มข้อกำหนดด้านความเชี่ยวชาญทางด้านเทคนิคของ Auditor ให้มากขึ้น ให้การสนับสนุนด้านเครื่องมือในการตรวจวัดพลังงานแก่สถานประกอบการ

53 แนวทางในการดำเนินการ ในอนาคต
เพิ่มจำนวนวิศวกรอาวุโสที่มีประสบการณ์ด้านการตรวจวัดประจำโครงการของฝ่ายบริหารโครงการให้มากขึ้น ปรับปรุงขั้นตอนการทำงานของฝ่ายประสานงานให้กระชับ รวดเร็ว และมีความต่อเนื่องมากกว่าที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน เพิ่มการประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับโครงการ และ แนวทางในการตรวจวัดกับสถานประกอบการให้สม่ำเสมอ ต่อเนื่อง

54 แนวทางในการดำเนินการ ในอนาคต
เพิ่มการติดตามการทำงานของ Auditor ให้มากกว่าเดิม สมควรมี Internal Audit ที่เป็นอิสระ เพื่อสะท้อนการทำงานที่ตรงไปตรงมา ปรับปรุงวิธีการนำเสนอผลการพิจารณาคัดเลือกสถานประกอบการให้กระชับ รวดเร็ว จัดทำฐานข้อมูลการพิสูจน์ผลตรวจวัดเผยแพร่แก่สถานประกอบการใน Website ของ พพ. หรือ Call Center

55 แนวทางในการดำเนินการ ในอนาคต
ประสาน Supplier ให้มีข้อมูลเกี่ยวกับการตรวจวัดสำหรับผลิตภัณฑ์ที่ขายตามที่คณะกรรมการเสนอแนะ ควรกำหนดระยะเวลาในการเข้าร่วมโครงการให้ชัดเจน คือ กำหนดระยะเวลารับสมัคร กำหนดระยะเวลาในการดำเนินโครงการ กำหนดระยะเวลาในการคิดผลประหยัด และประชาสัมพันธ์ระยะเวลาดังกล่าวให้เข้าใจตรงกัน

56 Q&A

57 Thank You


ดาวน์โหลด ppt รายงานประเมินผลความพึงพอใจ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google