ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
สื่อที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล
Transmission Media By Chaimard Kama Transmission media สื่อที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล
2
Electromagnetic Spectrum
<> Transmission Media By Chaimard Kama
3
Electromagnetic Spectrum
สัญญาณข้อมูลที่ส่งจากอุปกรณ์หนึ่งไปยังอุปกรณ์หนึ่ง อยู่ในรูปแบบ พลังงานคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Energy) ความยาวคลื่น (นาโนเมตร) ความถี่คลื่น (เฮิรตซ์) มีลักษณะสำคัญคือความถี่ที่ต่อเนื่องกันเป็นแนวกว้าง เรียกว่า Electromagnetic Spectrum ภายในสเปคตรัมฯจะมีช่วงของความถี่สัญญาณบรรจุอยู่ แต่คลื่นต่างๆก็ขึ้นอยู่กับตัวกลาง Transmission Media By Chaimard Kama
4
Transmission Media By Chaimard Kama
5
Transmission Media By Chaimard Kama
6
Transmission Media By Chaimard Kama
7
Transmission Media By Chaimard Kama
8
Transmission Media By Chaimard Kama
9
ปัจจัยที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับความเร็วบนตัวกลางที่ใช้ส่งข้อมูล
Bandwidth คือแถบความถี่ของช่องสัญญาณ Transmission Impairments ความสูญเสียต่อการส่งผ่าน การอ่อนตัว ของสัญญาณ Interference การรบกวนของสัญญาณ เช่น คลื่นวิทยุอาจถูกรบกวนหรือ ถูกแทรกแซงจากคลื่นอื่นๆ Number of Receivers หากมีจำนวนจุดเชื่อมต่อจำนวนมากก็ส่งผลใน ข้อจำกัดด้านระยะทางและอัตราการส่งข้อมูล Transmission Media By Chaimard Kama
10
Transmission Media Guided Media Unguided Media / Wireless
Twisted-Pair Cable => STP,UTP Coaxial Cable Fiber-optic Cable Unguided Media / Wireless Laser Infrared Radio Transmission Media By Chaimard Kama
11
Twisted-Pair Cable Transmission Media By Chaimard Kama
12
Cabling Diagrams RJ-45 connector:
Straight-through UTP cable Transmission Media By Chaimard Kama
13
Crossover UTP cable Transmission Media By Chaimard Kama
14
Transmission Media By Chaimard Kama
15
Transmission Media By Chaimard Kama
16
Transmission Media By Chaimard Kama
17
ชนิด สาย UTP CAT1 CAT2 CAT3 CAT4 CAT5 CAT5e CAT6
Transmission Media By Chaimard Kama
18
ข้อดี-เสีย ของ UTP ข้อดี ข้อเสีย ราคาถูก ง่ายต่อการใช้งาน
ความเร็วจำกัด ระยะทางจำกัด ต้องใช้อุปกรณ์ขยายสัญญาณ ไวต่อการรบกวนของสัญญาณอื่น Transmission Media By Chaimard Kama
19
Network Wiring Kits Transmission Media By Chaimard Kama
20
Coaxial Cable Transmission Media By Chaimard Kama
21
Coaxial Cable เป็นสายที่สามารถส่งสัญญาณที่มีช่วงของความถี่ได้กว้างกว่าสายคู่บิดเกลียว จะมีลวดนำไฟฟ้าอยู่ข้างในเพียงเส้นเดียว (ปกติใช้ทองแดง) มีฉนวนหุ้ม 2 ชั้น มีโลหะที่นำมาถักกันเป็นแพ อยู่ตรงกลางระหว่างฉนวน Transmission Media By Chaimard Kama
22
Coaxial Cable การกำหนดคุณสมบัติของสายโคแอ็กเชียล จะพิจารณาเส้นผ่านศูนย์กลาง ของลวดทองแดง ความหนา ชนิดของฉนวน โครงสร้างของโลหะที่นำมาถัก เป็นแพ และชนิดของพลาสติกหุ้ม RG-59 RG-58 RG-11 Transmission Media By Chaimard Kama
23
Coaxial Cable ข้อดี ข้อเสีย เชื่อมต่อได้ในระยะทางไกล
ป้องกันสัญญาณรบกวนได้ดี ข้อเสีย มีราคาแพง สายมีขนาดใหญ่ ติดตั้งยาก Transmission Media By Chaimard Kama
24
Fiber Optic Cable Transmission Media By Chaimard Kama
25
Fiber Optic Cable Transmission Media By Chaimard Kama
26
Fiber Optic Cable ทำมาจากท่อแก้วหรือพลาสติก แกนกลางเรียกว่า คอร์ (Core) ส่งสัญญาณในรูปแบบของแสง เทคนิคที่ใช้ในการส่งแสงผ่านสายไฟเบอร์ ทำให้มีชนิดของสาย 2 แบบ มัลติโหมด เป็นการส่งหลายลำแสงออกจากแหล่งกำเนิ ซิงเกิลโหมด สายขนาดเล็ก ลำแสงที่ส่งออกเกือบเป็นเส้นตรง Transmission Media By Chaimard Kama
27
Transmission Media By Chaimard Kama
28
Multimode vs Singlemode Fiber
Transmission Media By Chaimard Kama
29
Transmission Media By Chaimard Kama
30
Transmission Media By Chaimard Kama
31
Fiber Optic Cable ข้อดี ข้อเสีย มีอัตราการลดทอนสัญญาณต่ำ
ไม่มีการรบกวนของสัญญาณไฟฟ้า มีแบนด์วิธสูงมาก มีความปลอดภัยในข้อมูล ทนทานอายุการใช้งานนาน ข้อเสีย เส้นใยแก้วเปราะบาง แตกหักง่าย ราคาสูง การเดินสายต้องระมัดระวังอย่าให้มีความโค้งงอมาก การติดตั้งจำเป็นต้องใช้ผู้เชี่ยวชาญ Transmission Media By Chaimard Kama
32
Transmission Media By Chaimard Kama
33
Fiber Optic Connectors
Transmission Media By Chaimard Kama
34
Connector Types Transmission Media By Chaimard Kama
35
Fiber/Fibre Channel Transmission Media By Chaimard Kama
36
Fiber Optic Connectors
ST - straight-tip จะใช้สำหรับเป็นคอนเน็กเตอร์ให้กับอุปกรณ์ด้านเครือข่าย SC - subscriber channel จะใช้สำหรับคอนเน็กเตอร์กับเคเบิลทีวี MT-RJ – เป็นคอนเน็กเตอร์แบบใหม่ ขนาดเท่ากับ RJ-45 Transmission Media By Chaimard Kama
37
ST to ST Fiber Optic Cable 62.5/125u Multimode Duplex
Transmission Media By Chaimard Kama
38
SC to SC Fiber Optic Cable 62.5/125u Multimode Duplex
Transmission Media By Chaimard Kama
39
MT-RJ to SC Fiber Optic Cable 62.5/125u Multimode Duplex
Transmission Media By Chaimard Kama
40
MTRJ to LC Fiber Optic Cable 62.5/125u Multimode Duplex
Transmission Media By Chaimard Kama
41
Transmission Media By Chaimard Kama
42
Unguided Media / Wireless
สเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า แต่ละช่วงความถี่จะมีชื่อเรียกแตกต่างกัน ออกไป เช่น 300GHz-400GHz เรียกว่า อินฟราเรด สเปกตรัมฯ ช่วง 9KHz-900THz จะใช้สำหรับการสื่อสารแบบไร้สาย Transmission Media By Chaimard Kama
43
วิธีการแพร่สัญญาณ สื่อแบบไร้สายสามารถแบ่งวิธีการแพร่สัญญาณได้ 3 แบบ
Ground propagation เป็นวิธีการแพร่คลื่นวิทยุ(radio wave) ออกไป โดยจะแพร่ในระดับล่างสุดของชั้นบรรยากาศ สัญญาณเป็นคลื่นความถี่ ต่ำ ถ้าตัวส่งมีกำลังสูงสัญญาณก็ไปได้ไกล Sky propagation เป็นการส่งคลื่นวิทยุขึ้นไปบนบรรยากาศชั้น ไอโอโนส เฟียร์ ซึ่งเป็นชั้นที่มีอิออนอยู่มาก ซึ่งจะทำหน้าที่สะท้อนคลื่นกลับมายังพื้นโลก ความถี่แบบนี้จะสูงกว่าแบบแรก และถ้าใช้กำลังส่งเท่ากันจะไปไกลกว่า Line-of-sight propagation เป็นการส่งคลื่นวิทยุความถี่สูง เป็น เส้นตรงระหว่างตัวส่งและตัวรับ ซึ่งตัวรับกับตัวส่งต้องมีความสูงเพียงพอ Transmission Media By Chaimard Kama
44
Wireless Transmission
Radio Wave Microwave Infrared Transmission Media By Chaimard Kama
45
Radio wave ความถี่ 3 KHz – 1 GHz
การแพร่ของสัญญาณแบบกระจายออกไปรอบทิศทาง (เสาอากาศตัวส่ง-รับ ไม่จำเป็นต้องอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน) Sky propagation ข้อดี สามารถเดินทางผ่านกำแพงได้ ข้อเสีย ถ้ามีการแพร่สัญญาณจาก 2 แห่ง ที่ความถี่เท่ากัน จะรบกวนกัน ไม่สามารถควบคุมการแพร่ของสัญญาณได้ Transmission Media By Chaimard Kama
46
Transmission Media By Chaimard Kama
47
Transmission Media By Chaimard Kama
48
Transmission Media By Chaimard Kama
49
Sending and receiving radio waves
Transmission Media By Chaimard Kama
50
Microwave ความถี่ 1 GHz – 300 GHz
การแพร่ของสัญญาณแบบเป็นเส้นตรง (เสาอากาศตัวส่ง-รับจำเป็นต้องอยู่ ในแนวเส้นตรงเดียวกัน) Line-of-sight propagation ข้อดี มีช่วงความถี่กว้าง 299 GHz ทำให้จัดสรรช่องสัญญาณย่อยๆได้ ข้อเสีย สัญญาณมีความถี่สูง จึงไม่สามารถเดินทางผ่านกำแพงได้ ความโค้งของโลกจะเป็นอุปสรรคในการส่งสัญญาณ Transmission Media By Chaimard Kama
51
Transmission Media By Chaimard Kama
52
Infrared ตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้การสื่อสารแบบนี้ เช่น คีย์บอร์ด เม้าส์
ความถี่ 300 GHz – 400 GHz (ความยาวคลื่นตั้งแต่ 1 mm – 770 nm) ข้อดี เหมาะสำหรับการสื่อสารในระยะทางใกล้ๆ โอกาสในการรบกวนกันของสัญญาณมีน้อย (สัญญาณไม่สามารถผ่านกำแพงได้) ข้อเสีย ไม่เหมาะกับการสื่อสารระยะไกล ไม่สามารถใช้ได้ดีภายนอกอาคารที่มีแสงแดด ตัวอย่างอุปกรณ์ที่ใช้การสื่อสารแบบนี้ เช่น คีย์บอร์ด เม้าส์ Transmission Media By Chaimard Kama
53
Transmission Media By Chaimard Kama
54
การพิจารณาตัวกลางส่งข้อมูล
ต้นทุน ความเร็ว ระยะทางและการขยาย สภาพแวดล้อม ความปลอดภัย Transmission Media By Chaimard Kama
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.