งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Supply-side Effects of Fiscal Policy.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Supply-side Effects of Fiscal Policy."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Supply-side Effects of Fiscal Policy

2 Demand Side Effects ทบทวนวรรณกรรม Keynesian approach และ Crowding out
Multiplier effect on AD ราคาที่คงที่และความสามารถที่ยังเหลือ (Price rigidity and excess capacity) การกำหนดการลงทุนเอกชน อุปสงค์ของเงิน (Money demand and monetary policy) การเปิดประเทศและอัตราแลกเปลี่ยน

3 Non-Keynesian effects of fiscal policy
ทบทวนวรรณกรรม Non-Keynesian effects of fiscal policy Rational expectations (Forward adjustment) นโยบายการคลังมีผลทั้งใน ระยะสั้นและยาว Ricardian Equivalence ถ้าผู้บริโภคเป็น forward looking และรู้ผลของนโยบายรัฐอย่างดี

4 Supply Side Effect ทบทวนวรรณกรรม ภาษี รายจ่ายรัฐบาล และการเจริญเติบโต
New Classical Models เชื่อว่าการผันผวนของผลผลิตเป็นผลมาจากด้านอุปทานไม่ใช่อุปสงค์ (Lucas Model 1975; Sargent and Wallace 1975) ทุกๆ อย่างที่เกิดจากด้านอุปสงค์ที่ถูกคาดการณ์ไว้อย่างเต็มที่แล้วและไม่มีผลต่อการขยายตัวของเศรษฐกิจไม่ว่าในระยะสั้นและระยะยาว การเพิ่มของผลผลิตจะเกิดจากอุปทานอย่างเดียว ผลจากการจัดการด้านอุปสงค์ที่มีต่อผลผลิตเกิดจากสิ่งที่ไม่ได้คาดการณ์ เช่นราคาน้ำมัน ฯลฯแต่จะมีผลผ่านด้านอุปทาน

5 ผลจากนโยบายการคลังที่มีต่อด้านอุปทาน
จากมุมมองด้านอุปทาน อัตราภาษีส่วนเพิ่ม (marginal tax rate) มีความสำคัญต่อการปรับตัวอย่างมาก: การลดลงของอัตราภาษีทำให้เสมือนแรงงานได้รับรางวัลจากการทำงานเพิ่มขึ้น ขณะเดียวกันด้านการลงทุน การออม และกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่างๆ จะถูกเก็บภาษีน้อยลง อัตราภาษีที่เพิ่มขึ้นจะบิดเบือนผลผลิตเพรา: ไม่ส่งเสริมการทำงานและลดผลิตภาพ (productivity) ของแรงงาน ส่งผลทางลบแก่การสะสมทุนและการใช้ทุนให้มีประสิทธิภาพ ส่งเสริมให้บุคคลทดแทนการลดหย่อนภาษีในสิ่งที่ไม่ปรารถนามากขึ้นเพื่อเป็นการหลบหรือหลีกเลี่ยงการเสียภาษีมากขึ้น

6 ผลจากนโยบายการคลังที่มีต่อด้านอุปทาน
การเพิ่มอัตราภาษีอาจทำให้มีผลต่อ อุปทานมวลรวม aggregate supply เพราะการเปลี่ยนแปลงจะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการใช้ของปัจจัยการผลิตเพื่อหลีกเลี่ยงภาษี ผลต่อด้านอุปทาน: มักใช้เวลานานกว่าจะเห็นผลที่แท้จริง มีตัวอย่างประเทศที่มีอัตราภาษีสูงจะมีอัตราการเจริญเติบโตที่น้อยกว่าประเทศที่มีอัตราภาษีต่ำ ยังเป็นข้อถกเถียงถึงผลจากด้านอุปทานว่าที่แท้จริงคืออะไร แต่บทเรียนต่างประเทศแสดงให้เห็นว่าประเทศที่มีอัตราภาษีสูงมากๆ จะมีการขยายตัวเศรษฐกิจต่ำกว่า

7 สินค้าและบริการ (real GDP)
นโยบายด้านอุปทานและการขยายตัวเศรษฐกิจ LRAS1 LRAS2 ระดับราคา SRAS1 AD2 SRAS2 เมื่อมีการลดอัตราภาษีจะส่งเสริมให้มีการขยายตัวเศรษฐกิจ (shifting LRAS and SRAS out to LRAS2 and SRAS2). E1 P0 E2 AD1 สินค้าและบริการ (real GDP) YF1 YF2 การลดภาษีเพิ่มแรงจูงใจในการหาและใช้ปัจจัยการผลิตให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น AD1 shifts out to AD2, and SRAS & LRAS shift to the right. หากการลดภาษีเป็นการทำให้เกิดการขาดดุลการคลัง AD อาจขยายตัวมากกว่า supply, นำไปสู่การเพิ่มขึ้นของระดับราคา.

8 The Lucas Supply Function
The Lucas supply function เป็นสมการด้านอุปทานที่แสดงว่า ผลผลิต (Y) ขึ้นกับความแตกต่างระหว่างราคาแท้จริง (P) และราคาที่คาดการณ์ (Pe):

9 The Lucas Supply Function
ความแตกต่างของทั้งสองราคาดังกล่าวคือ price surprise.

10 The Lucas Supply Function

11 The Lucas Supply Function
Rational-expectations theory, ที่ผสมผสานกับ Lucas supply function, นำไปสู่ข้อเสนอในบทบาทของภาครัฐบาลในระบบเศรษฐกิจ

12 Supply-Side Economics

13 The Laffer Curve Laffer curve แสดงความสัมพันธ์อัตราภาษี ณ ระดับหนึ่งที่หากมีอัตราเกินระดับดังกล่าวทำให้รายได้ภาษีจะลดลงแม้เมื่อมีการเพิ่มอัตราภาษีขึ้นก็ตาม

14 The Laffer Curve The Laffer curve แสดงจำนวนรายได้ภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บที่ขึ้นกับอัตราภาษี

15 The Laffer Curve เมื่ออัตราภาษีสูงขึ้นอาจส่งผลให้รายได้ภาษีลดลง
ทำนองเดียวกันการลดภาษีอาจสร้างแรงจูงใจกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่นำไปสู่รายได้อื่นเพิ่มขึ้น

16 ข้อวิจารณ์ supply side economic
ผลของการลดภาษีมีผลต่อเศรษฐกิจและอุปทานของแรงงานน้อย ผลจากการลดภาษีต่อครัวเรือนนั้นหลังจากภาษีเพิ่มขึ้น อาจมีได้ทั้งสองทางคือเพิ่มการทำงานหรือลดการทำงาน โดยผลสุทธิขึ้นกับ income and substitution effects.


ดาวน์โหลด ppt Supply-side Effects of Fiscal Policy.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google